ภาษากับอุดมการณ์เกียรติภูมิในวาทกรรมเพลงมาร์ชโรงเรียน
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุดมการณ์เกียรติยศในวาทกรรมเพลงมาร์ชโรงเรียนประจำจังหวัดโดยเก็บข้อมูลเพลงมาร์ชโรงเรียนประจำจังหวัด จังหวัดละ 1 เพลง รวมเป็น 77 เพลง โดยใช้แนวทางวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ผลการศึกษาพบกลวิธี การใช้คำศัพท์ ซึ่งเปิดเผยให้เห็นถึงอุดมการณ์เกียรติภูมิของโรงเรียนโดยมีชุดความคิดที่สนับสนุนอุดมการณ์นี้ได้แก่ 1) ความชื่อเสียงของโรงเรียนที่มีประวัติอันยาวนานมีความเกี่ยวข้องกับบุคคลสำคัญ 2) ความเป็นเลิศทางวิชาการและการกีฬา 3) ชื่อเสียงของโรงเรียน ชุดความคิดดังกล่าวประกอบสร้างให้นักเรียนมีรักและเทิดทูน มีความภาคภูมิใจในโรงเรียนของตนจนกลายเป็นค่านิยมของสังคม วิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการผลิตตัวบทได้แก่ ประวัติศาสตร์ของโรงเรียน บทบาทหน้าที่ของสถาบันการศึกษา ค่านิยมทางการศึกษา ระบบการศึกษาไทย ความกตัญญู และความต้องการยอมรับของสังคม
Article Details
References
เทพ บุญตานนท์ (2559). เพลงมารช์ ทหารกับการสร้างภาพลักษณ์กองทัพผู้ปกป้องชาติ
และสถาบันพระมหากษัตริย์. วารสารมนุษยศาสตร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2. หน้า 129-171.
ปณิธาน บรรณาธรรม (2558). การสื่อความหมายในเพลงประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.เอกสารประกอบการประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติครั้งที่ 2. 26-27 พ.ย. 2558.
พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ (2554). วาทกรรมชาตินิยมของรัฐบาลไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2475 ถึง พ.ศ. 2550. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เมศิณี ภัทรมุทธา และ พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์ (2554). เพลงประจำจังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง: วัฒนธรรมและความเชื่อ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วราวัฑฒิ์ ชูโต และ กิตติ กันภัย (2551). ประสิทธิภาพของเพลงชาติไทยและผลกระทบที่มีต่อชนชั้นทางสังคม. วารสารนิเทศศาสตร์ ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 2551. หน้า27-47.
อัจฉราพร ใครบุตร และ วิไลศักดิ์ กิ่งคำ (2559). วัจนกรรมในบทเพลงปลุกใจให้รักชาติระหว่าง พ.ศ. 2510-2550. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559. หน้า 61-69.
Fairclough, N. 1992. Discourse and Social Change. Cambridge: Polity Press.
__________, N. (1995). Media Discourse.London: Edward Arnold.
Jorgenson, M. and L. Phillips. 2002. Discourse Analysis as Theory and Method. London: SAGE.
Hymes. Dell. (1972). Editorial Introduction to Language in Society, Language in Society, 1(1):1-14.
Machin, D. and A. Mayr. 2012.How to Do Critical Discourse Analysis.London, California. Singapore, New Delhi: SAGE. Publishing Service.
Maslow, Abraham. (1970). Motivative and Personnality. New York: Harper and row publisher.
Simpson, P. (1993). Language, Ideology and Point of View. London:Routledge.
Thomson, J.B. (1984). Studies in the Theory of Ideology. London: Polity Press.
van Dijk, T., ed. (1997). Discourse Studies: A Multidisciplinary Introduction. Vol.2, Discourse as Social Interaction. London: Sage.
van Dijk, T.A. 1995. "Discourse semantics and ideology."Discourse & Society. SAGE: 6(2): 243-289.
Wennerstrom, A. (2006). Discourse Analysis in the Language Classroom. Volume 2, Genres of Writing. Ann Arbor: The University of Michigan Press.
ราชบัณฑิตยสถาน (2554). พจนานุกรมออนไลน์ เข้าถึงจาก https://www.royin.go.th/dictionary/ เข้าถึงเมื่อ 19 ธันวาคม 2560
ประวัติโรงเรียนพิริยาลัย เข้าถึงจาก https://sites.google.com/a/piriyalai.ac.th/piriyalai/prawati-rongreiyn เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2560