@article{ติยะวงศ์สุวรรณ_หาญเผชิญ_กวิศราศัย_2016, title={ศักยภาพเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาจังหวัดอย่าง บูรณาการ กรณีศึกษาจังหวัดบึงกาฬ}, volume={28}, url={https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/44909}, abstractNote={<p style="text-align: justify;">        การศึกษาศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนาจังหวัดอย่างบูรณาการ กรณีศึกษาจังหวัดบึงกาฬ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 3 ประเด็น คือ 1) ศึกษาศักยภาพพื้นที่จังหวัดบึงกาฬเพื่อเป็นข้อมูล พื้นฐานสำคัญสำหรับการวางแผนพัฒนาจังหวัดอย่างบูรณาการ 2) ค้นหาและจำแนกประเด็นศักยภาพ พื้นที่เพื่อการพัฒนาจังหวัดบึงกาฬ 3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาศักยภาพพื้นที่ให้สอดคล้องกับ สภาพบริบทจังหวัดบึงกาฬ โดยจำแนกขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยได้ทั้งหมดเป็น 7 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ชุดข้อมูลทุติยภูมิเพื่อค้นหาศักยภาพพื้นที่ในการ พัฒนาจังหวัดบึงกาฬ ขั้นตอนที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการท่ามกลางผู้เชี่ยวชาญด้านศักยภาพพื้นที่ เพื่อการพัฒนาจังหวัดสำหรับการสรุปประเด็นศักยภาพพื้นที่จังหวัดเป้าหมายในขั้นต้น ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และสังเคราะห์จำแนกประเด็นศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนาจังหวัดบึงกาฬ ขั้นตอนที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการท่ามกลางผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อน การพัฒนาจังหวัด ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพพื้นที่แต่ละประเด็นของจังหวัด บึงกาฬ ขั้นตอนที่ 6 การประชุมใหญ่และกลุ่มย่อยท่ามกลางผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อสรุปข้อค้นพบศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนาจังหวัด และขั้นตอนที่ 7 การ อภิปรายและข้อเสนอแนะศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนาอย่างบูรณาการจังหวัดบึงกาฬ ผลการวิจัย พบว่าจังหวัดบึงกาฬมีศักยภาพพื้นที่ 3 ด้าน ได้แก่ 1) เมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจยางพารา 2) เมือง ท่าการค้าชายแดน และ 3) เมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์-วัฒนธรรมชายแดนแนวแม่โขง</p><p style="text-align: justify;"> </p><p style="text-align: justify;"><strong>A Study on Integration of Provincial Potential Development: Case Study of Bueng Karn Province</strong></p><p style="text-align: justify;"><em><strong>Sarit Tiyawongsuwan, Ph.D., Lecturer</strong></em></p><p style="text-align: justify;"><em><strong>Rawee Harnpachern, Associate Professor</strong></em></p><p style="text-align: justify;"><em>Faculty of Architecture, </em><em>Khon Kaen University</em></p><p style="text-align: justify;"><em><strong>Sunee Kavisarasai</strong></em></p><p style="text-align: justify;"><em>Research and Development Institute,</em><em>Khon Kaen University</em></p><p style="text-align: justify;">        A study on integration of provincial potential development in cases study of Bueng Karn province has three objectives. Namely, 1) studying spatial potential of Bueng Karn province contribute to important basic information to integrated-planning, 2) investigating and identifying issues of spatial potential to provincial development, and 3) suggesting guidelines for spatial development to conform with Bueng Karn condition. Research methodology divides to seven steps, namely step 1<sup>st</sup> synthesizing secondary data of 3 provinces, step 2<sup>nd</sup> Meeting and in-depth interviewing among experts in order to identify primary issues for spatial development, step 3<sup>rd</sup> classifying issues of spatial development each province, step 4<sup>th</sup> meeting and discussing with stakeholders among sectors that relate to operate spatial development each province, step 5<sup>th</sup> synthesizing issues of spatial development, step 6<sup>th</sup> discussing and in-depth interviewing framework with main and focus group of stakeholders for conclusion in spatial development, and final step 7<sup>th</sup> making the guideline for integration of potential development of Bueng Karn province. The results of research find that Bueng Karn province has three issues, namely 1) the center city of hevea economy, 2) border trade city area, and 3) Cultural-ecotourism.</p>}, journal={NAJUA: Architecture, Design and Built Environment}, author={ติยะวงศ์สุวรรณ สฤษดิ์ and หาญเผชิญ รวี and กวิศราศัย สุณีย์}, year={2016}, month={Jan.}, pages={299} }