TY - JOUR AU - Laiprakobsup, Narongpon PY - 2016/01/29 Y2 - 2024/03/29 TI - Examining Presence of Place through Three Worldviews JF - NAJUA: Architecture, Design and Built Environment JA - Arch SU Journal VL - 24 IS - 0 SE - ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม | Architectural Theory and Design DO - UR - https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/45027 SP - 39 AB - <p style="text-align: justify;">        Concepts of place are complex in architectural discourse as much as the term “place” encompasses multi-layered facets in philosophy. This article aims to review the notions of place in environmental place-making in relations to those in three philosophical stances: neo-structuralism, phenomenology, and embodied realism. By an impartial view, these frameworks become legitimate and make contributions to knowledge of place by extending its boundaries and constructing layers of place into three forms of presences in architectural concerns: “ethnic domains,” environmental connectedness, and embodiment. To culminate into meaningful, living environments, place-making is obliged to systemically consider environmental worldviews inclusive of presencespertinent to cultural symbols, existential-spatial authenticity, and bodily engagements.</p><p><strong><br /></strong></p><p><strong>อาจารย์ ดร.ณรงพน ไล่ประกอบทรัพย์</strong></p><p><strong></strong>คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</p><p> <span style="text-align: justify;">        แนวความคิดของ “สถานที่” มีความซับซ้อนในวาทกรรมทางสถาปัตยกรรม เช่นเดียวกับทางปรัชญาที่คำว่า “สถานที่” ประกอบด้วยความลึกซึ้งในหลายมิติ บทความนี้มุ่งหมายที่จะตรวจสอบและทบทวนองค์ความรู้ของ “สถานที่” ในการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมในความสัมพันธ์กับสามแนวความคิดเชิงปรัชญาของ “สถานที่” คือ โครงสร้างนิยมแบบใหม่ ปรากฏการณ์ศาสตร์และสัจนิยมเชิงตัวตน โดยความเสมอภาคทางแนวความคิด กรอบความคิดของปรัชญาทั้งสามแนวทางได้รับการยอมรับ และนำไปสู่การก่อเกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานที่ โดยการขยายกรอบความคิดและมิติของสถานที่ในสามโครงสร้างของการปรากฏตัวตนทางสถาปัตยกรรม คือ “พื้นที่เชิงชาติพันธุ์” ความสัมพันธ์ทางสภาพแวดล้อม และปฏิสัมพันธ์ของการก่อกำเนิดตัวตน เพื่อบรรลุถึงสภาพแวดล้อมแห่งชีวิตและความหมาย การสร้างสรรค์สถานที่จะต้องพิจารณาเชิงบูรณาการของแนวความคิดในการปรากฏตัวตนทางสภาพแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแก่นแท้เชิงวิถีแห่งสถานที่ และการเกี่ยวพันของตัวตน.</span></p> ER -