@article{น้อยไธสง_2022, place={กรุงเทพฯ, ประเทศไทย}, title={การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ โดการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม เรื่อง ชีวิตและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์: DEVELOPMENT OF PROBLEM SOLVING ABILITY AND SCIENCE LEARNING ACHIEVEMENT USING SCIENCE TECHNOLOGY AND SOCIETY IN THE TOPIC OF ELECTRIC CIRCUIT FOR PRATHOM SUKSA VI STUDENTS ON DEMONSTRATION SCHOOL OF RAJABHAT RAJANAGARINDRA UNIVERSITY IN CHACHOENGSAO PROVINCE}, volume={10}, url={https://so04.tci-thaijo.org/index.php/edj/article/view/253831}, abstractNote={<p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ก่อนเรียนและหลังเรียน (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นการวิจัยเชิงทดลองกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จำนวน 29 คน ได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ คือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม (2) แบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 และ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนมีพัฒนาการขั้นวิเคราะห์ปัญหาสูงสุด รองลงมาคือขั้นระบุปัญหา ขั้นกำหนดวิธีแก้ปัญหา และขั้นการตรวจสอบผลลัพธ์ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แนวทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องชีวิตและสิ่งแวดล้อม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>The purposes of this study were (1) to compare the problem solving ability of Prathom Suksa VI students on Demonstration School of Rajabhat Rajanagarindra University, Chachoengsao before and after taught with Science, Technology and Society in the Topic of Life and Environment and (2) to compare science learning achievement of the samples using Science Technology and Society in the Topic of Life and Environment. The sample of this study was 29 Prathom Suksa VI students in academic year 2021 at Demonstration School of Rajabhat Rajanagarindra University in Chachoengsao Province, selected from one classroom. The sample was selected based on a cluster sampling. The research instruments comprised (1) learning management plans using Science Technology and Society in the Topic of Life and Environment, (2) Problem Solving Ability Test, the reliability of 0.82 and (3) Science Learning Achievement Test, the reliability of  0.95. Data collected were then analyzed using statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test.</p> <p>The findings of this study indicated as follows: (1) after taught with science, technology and society, the posttest score on problem solving ability of the sample was higher than pretest score with a statistical significance level of .05. In terms of individual elements of problem solving ability, an element with the highest level of development was problem analysis, followed by problem identification, solution identification, and verification and (2) after taught with science, technology and society, the posttest score on science learning achievement of the sample was higher than pretest score with a statistical significance level of .05</p>}, number={1}, journal={ศึกษาศาสตร์ มมร}, author={น้อยไธสง ธนาวัฒน์}, year={2022}, month={ส.ค.}, pages={75–88} }