https://so04.tci-thaijo.org/index.php/johuru/issue/feedJournal of Humanities and Social Sciences Uttaradit Rajabhat University2024-08-13T00:00:00+07:00ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไสยเพ็ญ เฉิดเจิม hssurujournal@gmail.comOpen Journal Systems<p><strong>วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ </strong></p> <p><strong>ISSN</strong><span style="font-weight: 400;">: 2350-9317</span></p> <p><span style="font-weight: 400;"><strong>สาขาขอบเขตเนื้อหาการตีพิมพ์</strong> </span></p> <p><span style="font-weight: 400;"> บทความ ประเภทบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทรรศน์ หรือบทวิจารณ์หนังสือ เกี่ยวกับ ภาษา ศิลปวัฒนธรรม รัฐประศาสนศาสตร์ การศึกษา ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ดนตรี ศิลปะ การออกแบบ ศาสนา ปรัชญา พัฒนาสังคม การท่องเที่ยว และสหวิทยาการ </span><span style="font-weight: 400;">โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยทั้งในและนอกสถาบัน </span></p> <p><strong>ประเภทบทความที่รับ<br /></strong> ตีพิมพ์ผลงาน 2 ประเภท คือ</p> <ul> <li>บทความวิจัย (Research article)</li> <li>บทความวิชาการ (Academic article) </li> </ul> <p><strong>การพิจารณาบทความ</strong></p> <p> บทความที่ได้รับการเผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารมีการตรวจสอบและพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer-reviews) จำนวน 3 ท่าน ต่อ 1 บทความ โดยผูัทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความที่มีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จะมีรูปแบบที่ผู้พิจารณาบทความไม่ทราบชื่อผู้นิพนธ์บทความและผู้นิพนธ์บทความไม่ทราบชื่อผู้พิจารณาบทความเช่นเดียวกัน (Double-Blinded Peer Review) ผ่านระบบ ThaiJo</p> <p><strong>กำหนดการตีพิมม์เผยแพร่</strong></p> <p> กำหนดตีพิมพ์เผยแพร่เป็นประจำทุกปี ปีละ 2 ฉบับคือ</p> <ul> <li>ฉบับที่ 1 ช่วงเดือน มกราคม-มิถุนายน</li> <li>ฉบับที่ 2 ช่วงเดือน กรกฏาคม-ธันวาคม</li> </ul> <p><strong>ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์</strong></p> <p> วารสารจัดเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์บทความ ต่อ 1 บทความ รายละเอียดดังนี้</p> <ul> <li>บุคคลภายนอก ค่าธรรมเนียม 3,000 บาท (สามพันบาทถ้วน)</li> <li>บุคคลภายในมหาวิทยาลัย ค่าธรรมเนียม 1,500 บาท (หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน)</li> </ul> <p> โดยจะเรียกเก็บเมื่อบทความของท่าน ได้รับการพิจาณาจากบรรณาธิการให้เข้าสู่กระบวนการส่งพิจารณาบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ โดยวารสารขอสงวนสิทธิ์คืนเงินกรณีบทความได้ดำเนินการส่งผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความแล้ว</p>https://so04.tci-thaijo.org/index.php/johuru/article/view/273562Self-English Learning Strategies to Achieve Higher Proficiency: A Case Study of High Proficiency English Major Students2024-08-06T14:38:52+07:00Kusuma Ruangpattanakulkusuma.r@lawasri.tru.ac.th<p>The objectives of this study were to 1) to explore the self-English learning (SEL) strategies employed by high proficiency English major students and investigate their preferred methods for improving the four main English skills: speaking, listening, reading, and writing, and 2) to examine the effective techniques these students use to overcome challenges encountered in their English language development journey. The participants consisted of 30 English major students holding Grade Point Average more than 3.50 in all English subject fields. The survey instruments used for collecting the data included a questionnaire and focus group interview and to be analyzed by mean and standard deviation. The result revealed that these advanced English students primarily utilize digital resources, particularly AI chatbots and online translation tools, alongside traditional techniques to enhance their language acquisition and address specific learning challenges. Based on the results, it is suggested that instructors should integrate a hybrid approach, combining AI-powered tools with traditional techniques, to enhance students' English proficiency achievement.</p>2024-10-17T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 Journal of Humanities and Social Sciences Uttaradit Rajabhat University