@article{Chaisirirat_2021, title={Bureaucratic Reform Discourse and Power Relations in Thailand’s Modernization: From the pre-Siamese Revolution in 1932 to the Marshal Sarit’s period}, volume={19}, url={https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsd/article/view/89832}, abstractNote={<p>ความทันสมัยมีอิทธิพลต่อประเทศไทยจากการนำไปเป็นเงื่อนไขและความจำเป็นในการปฏิรูประบบราชการสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ในการศึกษานี้จึงมุ่งศึกษาการก่อตัวของวาทกรรมการปฏิรูประบบราชการที่มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ก่อนการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 จนถึงสมัยจอมพลสฤษดิ์เพื่อเผยให้เห็นปฏิบัติการทางวาทกรรมและความสัมพันธ์เชิงอำนาจโดยใช้แนวทางในการศึกษาวาทกรรมเชิงโบราณคดีและวงศาวิทยาของมิเชล ฟูโกต์มาใช้ในการศึกษาปรากฏการณ์ การศึกษานี้จึงประกอบไปด้วยการก่อตัวของแนวคิดว่าด้วยการปฏิรูประบบราชการนับตั้งแต่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ล่มสลาย ปฏิบัติการทางวาทกรรมที่สร้างความหมายให้แก่การปฏิรูประบบราชการในยุคนี้ที่ถูกนำไปเชื่อมโยงกับความทันสมัย และความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่แทรกแซงไปถึงระดับความรู้สึกนึกคิดของผู้คนในสังคม</p>}, number={1}, journal={Journal of Social Development and Management Strategy}, author={Chaisirirat, Chonticha}, year={2021}, month={Feb.}, pages={59–80} }