TY - JOUR AU - สังข์ช่วย, อำนวย PY - 2021/12/30 Y2 - 2024/03/29 TI - ปัญหาอุปสรรคและผลกระทบต่อการจัดเก็บภาษี ตาม พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น JF - วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ JA - NEUARJ VL - 11 IS - 3 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so04.tci-thaijo.org/index.php/neuarj/article/view/253160 SP - 287-300 AB - <p>&nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1).ศึกษาสภาพการดำเนินงานจัดเก็บภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่ง&nbsp; ปลูกสร้าง <strong>2).</strong>ศึกษาปัญหาอุปสรรคและผลกระทบจากการดำเนินงานจัดเก็บภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่งปลูก&nbsp; สร้าง และ <strong>3).</strong>ศึกษาแนวทางพัฒนาการดำเนินงานจัดเก็บภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตาม พ.ร.บ.&nbsp; ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น&nbsp; ในเขตพื้นที่อำเภอหนองเรือ&nbsp; จังหวัด&nbsp; ขอนแก่น <strong>&nbsp;</strong>เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเจาะลึก &nbsp;ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ให้&nbsp; ข้อมูล จำนวน 20 คน คัดเลือกโดยวิธีเจาะจงตามสถานการณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา&nbsp;</p><p><strong>ผลการศึกษา พบว่า </strong></p><p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>1.สภาพการดำเนินงานจัดเก็บภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง&nbsp; พบว่า&nbsp;&nbsp; องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้จัดให้มีการประชุม อบรมเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้&nbsp; กฎหมาย พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562.ใหม่ &nbsp;มีการดำเนินการประชาสัมพันธ์ ทางหอกระจายข่าวชุมชน จัดส่งหนังสือถึงเจ้าของบ้านโดยตรง และมีการจัดเก็บภาษีตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด <strong>&nbsp;</strong></p><p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2.ปัญหาอุปสรรคต่อการดำเนินงานจัดเก็บภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง &nbsp;พบว่า รัฐประกาศใช้ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 เก็บภาษีรวดเร็วเกินไป&nbsp; หน่วยงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการเจ้าหน้าที่และประชาชนผู้ปฏิบัติ ตั้งตัวไม่ทัน&nbsp; ประชาชนยังไม่เข้าใจในระบบการเสียภาษี หน่วยงานส่วนท้องถิ่น มีอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอไม่สมดุลยกับปริมาณงานในหน้าที่&nbsp; ท้องถิ่นได้รับฐานข้อมูลจำนวนที่ดินกับรายละเอียดของผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินไม่ตรงกัน</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3.ผลกระทบต่อการดำเนินการจัดเก็บภาษีรายได้จากประชาชนผู้เสียภาษีทรัพย์สินที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง&nbsp; โดยภาพรวมพบว่า 1). ผลกระทบต่อรัฐ คือ &nbsp;การประกาศใช้ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูก สร้าง พ.ศ. 2562 รวดเร็วเกินไป หน่วยงานส่วนท้องถิ่นตั้งตัวไม่ทัน ประชาชนยังไม่เข้าใจในรายละเอียดของการเสียภาษีอย่างทั่วถึง ท้องถิ่นมีฐานข้อมูลบัญชีทรัพย์สินไม่ตรงตามที่ประชาชนครอบครองจริง &nbsp;2).ผลกระทบต่อประชาชนในภาพรวม พบว่า ประชาชนขาดความรู้ ไม่เข้าใจในกฎหมาย การเสียภาษีระบบใหม่ จึงขาดความร่วมมือ ขาดการมีส่วนร่วมต่อการมาเสียภาษี</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.แนวทางพัฒนาการดำเนินงานจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พบว่า&nbsp; <strong>1.) </strong>ควรจัดตั้งงบประมาณ ด้านการประชาสัมพันธ์จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในระบบการเสียภาษีให้กับประชาชนทุกครัวเรือน <strong>2.) </strong>ควรส่งเสริมให้ประชาชนหรือผู้นำชุมชน เข้ามามีบทบาท มีส่วนร่วม ในการประชาสัมพันธ์&nbsp;&nbsp; <strong>3.)</strong> ควรเพิ่มอัตรากำลังเจ้าที่ตามตำแหน่งหน้าที่ให้เพียงพอ <strong>4.)</strong> รัฐ ควรจัดให้มีการยื่นแบบเสียภาษีระบบออนไลน์ การชำระภาษีผ่านระบบ Net Bank &nbsp;&nbsp;<strong>5.)</strong> รัฐ ควรส่งเสริมให้มีมาตรการณ์ สร้างแรงจูงใจ ให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้มาเสียภาษีตามกำหนด หรือจัดให้มีส่วนลดหย่อนภาษี&nbsp; เป็นต้น</p> ER -