@article{ด้วงวิเศษ_2022, title={สังคมศาสตร์กับจุดเปลี่ยนทางภววิทยา}, volume={48}, url={https://so04.tci-thaijo.org/index.php/socku/article/view/257845}, abstractNote={<p>บทความนี้ต้องการตรวจสอบการศึกษาทางภววิทยาที่เสนอข้อถกเถียงเกี่ยวกับ “การดำรงอยู่” และ “ความจริง” ของสรรพสิ่งที่ท้าทายความคิดเดิมที่ให้ความสำคัญกับมนุษย์ในฐานะเป็นผู้กำหนดและให้ความหมายต่อสิ่งต่างๆ ผ่านประสบการณ์ทางสังคม อย่างไรก็ตาม ในแวงวงการศึกษาทางสังคมศาสตร์ ทิศทางการศึกษาภววิทยามิได้เป็นเนื้อเดียวกัน หากแต่มีการตอบโต้และวิพากษ์วิจารณ์กันไปกันมาตลอดเวลา โดยมีแนวความคิดที่ต่างกัน 2 แนวทาง คือ แนวทางที่หนึ่งอธิบายภววิทยาด้วยการมองวัตถุเป็นผู้กระทำการและมีแก่แท้ในตัวเอง กับแนวที่สอง อธิบายภววิทยาในฐานะเป็นวิธีอธิบายความจริงภายใต้กลไกทางภาษาซึ่งยังอาศัยการตีความโดยมนุษย์ ข้อถกเถียงทั้งสองแนวทางนี้สะท้อนรอยแยกและความไม่ลงรอยของนักวิชาการทางสังคมศาสตร์ ทำให้การศึกษาภววิทยายังเป็นพรมแดนที่เต็มไปด้วยข้อโต้แย้งและเป็นประเด็นที่นักวิชาการไม่ควรมองข้าม</p>}, number={1}, journal={วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์}, author={ด้วงวิเศษ ดร.นฤพนธ์}, year={2022}, month={มิ.ย.}, pages={1–16} }