สถานภาพฮูปแต้มอีสานศึกษาในช่วง พ.ศ.2554-2559

กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์

ผู้แต่ง

  • กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์

คำสำคัญ:

ฮูปแต้ม, ประวัติศาสตร์ศิลปะ, ศิลปะพื้นบ้าน

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นนำเสนอสถานภาพของฮูปแต้มอีสาน โดยการศึกษาผลงานวิชาการศึกษาที่มีต่อการศึกษาฮูปแต้มอีสานในช่วงปี พ.ศ.2554-2559 จากเอกสาร บทความวิชาการ หนังสือ รายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์ ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงปี 2555-2559 มีการศึกษาความสัมพันธ์ของฮูปแต้มในพื้นที่แอ่งวัฒนธรรมเดียวกัน การศึกษาที่เน้นการศึกษาเชิงลึกเฉพาะวัดเฉพาะประเด็น การศึกษาฮูปแต้มอีสานกับศิลปกรรมร่วมสมัยและการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรม การศึกษาการอนุรักษ์และพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ และการศึกษาเชิงภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือเชิงประวัติศาสตร์ ทั้งนี้ ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาของบุคลากรจากสถาบันการศึกษาในรูปแบบวิทยานิพนธ์ บทความวิชาการ หนังสือ ซึ่งการศึกษาในช่วงระยะเวลาดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าฮูปแต้มอีสานยังคงเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าต่อชุมชนและประเทศชาติ

References

กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์. (2555). สถานภาพฮูปแต้อีสานศึกษา. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการมอบ. วิจัย ครั้งที่ 6, 25-27 กรกฎาคม.

กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์. (2558). สุนทรียภาพของจิตรกรรมฝาผนังอีสานร่วมสมัยสิมวัดป่าบ้านหม้อ อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน. หน้า 113-129.

กลุ่มโบราณคดี สำนักโบราณคดีที่ 9 ขอนแก่น, (2558). องค์ความรู้ในการศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังในสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. กรมศิลปกร กระทรวงวัฒนธรรม.

จักริน เงินทอง. (2556). จิตรกรรมฝาผนังอีสานที่ปรากฏอิทธิพลจิตรกรรมไทยภาคกลาง: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น https://gsbooks.gs.kku.ac.th/57/grc15/files/hmo42.pdf. (สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559)

ชวลิต อธิปัตยกุล, (2554).ฮูบแต้มฝาผนังสิมอีสาน : การสืบทอดพัฒนาทางงานช่างอีสานก่อน พ.ศ. 2500 ใน วารสารศิลปกรรมบูรพา. ปีที่ 12 เล่มที่ 1(ฉบับพิเศษ). หน้า 137-156.

ชวลิต อธิปัตยกุล, (2555). ฮูปแต้มอีสาน : มุมมองด้านประวัติศาสตร์ศิลปะพื้นถิ่น บนแผ่นดินอีสาน.อุดรธานี : เต้า-โล.

ดิสพงษ์ เกติยะและเดชา ศิริภาษณ์, (2559). การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากฮูปแต้มอีสานในจังหวัดขอนแก่นเพื่อการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมร่วมสมัย ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรม วัฒนธรรมและการออกแบบ ภูมิปัญญา
สู่อาเซียน. 7-8 เมษายน 2559 ณ โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น, หน้า 210-229.

นงนุช ภู่มาลี, (2558). ภาพทศชาติชาดก ภาพสะท้อนการสืบทอดศาสนาในจิตรกรรมอีสานช่างท้องถิ่น กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด ใน วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม. หน้า 227-248.

ปิยนัส สุดี (2557). ฮูปแต้ม : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในเขตอีสานตอนกลางใน วารสารศิลปกรรมบูรพา. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2, หน้า 33-56.

พระอดิเรก อาทิจฺจพโล (โลกะนัง) (มปป.) ศึกษาเชิงวิเคราะห์สุนทรียศาสตร์ที่ปรากฏในสิมอีสานจังหวัดมุกดาหาร.

พรเพ็ญ บุญญาทิพย์, (2556). กระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังวัดโพธารามและวัดป่าเรไรย์ จังหวัดมหาสารคาม ใน ดำรงวิชาการ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน. หน้า 75-107.

พระมหาพีระพันธ์ ธมฺมวุฑฺโฒ (ตรีศรี),(2557). การศึกษาวิเคราะห์คุณค่าฮูปแต้มเชิงพุทธศิลป์ในสิมวัดโพธิ์ชัย ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิชญ์ชาญ วงศาโรจน์, (2555) พระบฏวัดหน้าพระธาตุ นครราชสีมา จากผืนผ้าสู่ฝาผนังใน เมืองโบราณ. ปีที่ 38 ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย.) หน้า 160-171.

มิ่งขวัญ สายเมือง, (2556). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน : ความสัมพันธ์ทางสังคมวัฒนธรรมของชาวต่างชาติกับชุมชนท้องถิ่น https://gsmis.gs.kku.ac.th/publish/details/15509 (สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2560)

ยุทธนา ไพกะเพศ,(2555). จิตรกรรมอีสาน (ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงยุคร่วมสมัย). มหาสารคาม : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสารคาม.

รังสิยา สัตนันท์,(2555). การศึกษาประเพณีบุญผะเหวดที่ปรากฎในจิตรกรรมฝาผนังจังหวัดร้อยเอ็ด. ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร.

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์และคณะ,(2559). สารานุกรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน“จิตรกรรมฝาผนังพุทธอุโบสถแบบดั้งเดิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2555). เจดีย์ พระพุทธรูป ฮูปแต้ม สิม ศิลปะลาวและอีสาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มิวเซียมเพรส.

พาสน์ แสงสุรินทร์, (2558). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน “ฮูปแต้ม” : จากความเชื่อนรกภูมิสู่รูปแบบและคุณค่าศิลปกรรม ใน วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน หน้า227-248. หน้า 84-109.

สุพาสน์ แสงสุรินทร์, (2558). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน “ฮูปแต้ม” : จากความเชื่อนรกภูมิสู่รูปแบบและคุณค่าศิลปกรรม. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 7 (1) มกราคม-มิถุนายน : 227-248.

สุภาวดี ไชยกาล,(2556). วิเคราะห์คติธรรมจากจิตรกรรมฝาผนังวัดทุ่งศรีเมืองจังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญาพุทธศาสนามหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุวิไล คำพิลา, (2557).ออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก : แรงบันดาลใจจากฮูปแต้ม. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเครื่องเคลือบดินเผา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, (2545). รายงานการประชุมทางวิชาการเรื่องทิศทางวัฒนธรรม กับการศึกษาในกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง : สกศ.2545. กทม.ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, (2558). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12.กรุงเทพฯ : สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อนุชิต โรจนชีวินสุภร, (2555). การศึกษาวิถีชาวบ้านผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดยางทวงวราราม บ้านยาง ตำบลยาง อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.ปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อัศวิณีย์ หวานจริง,(2556). สุนทรียะในบริบททางสังคมและผลปรากฏจากสภาวะแวดล้อมของศิลปกรรมกระจกบนผนังอุโบสถวัดมณีจันทร์ อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ใน วารสารวิจิตรศิลป์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน .หน้า 125-202.

Wanida Onlamai และ Sutsan Suttipisan, (2559). การปรับใช้วรรณกรรมสินไซเพื่อการสื่อความหมายการท่องเที่ยวไทย ใน วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน.หน้า 1-15.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-28

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ (Academic Articles)