วรรณกรรมว่าด้วย “นโยบายด้านการเมืองของรัฐสยามต่ออีสาน ระหว่าง พ.ศ.2435 - 2453”

ผู้แต่ง

  • สุนิตย์ เหมนิล ศูนย์การเรียนรู้พุทธศิลป์ถิ่นอีสาน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

คำสำคัญ:

วรรณกรรม, นโยบายการเมือง, อีสาน, สยาม

บทคัดย่อ

บทความนี้ต้องการศึกษานโยบายด้านการเมืองของรัฐสยามต่ออีสานในระหว่าง พ.ศ.2435-2453 รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการปกครองในช่วงเวลาดังกล่าว โดยใช้วิธีการศึกษาจากวรรณกรรมแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source) ผลการศึกษาพบว่า นโยบายด้านการเมืองของรัฐสยาม มีผลกระทบต่ออีสาน จากเดิมเจ้าเมืองท้องถิ่นมีอำนาจและมีอิสระในการปกครองตนเอง ต้องถูกผนวกรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง ภายใต้นโยบายด้านการเมืองการปกครองแบบใหม่ เพื่อให้ราชสำนักสยามมีเอกภาพ และมีสิทธิ์ขาดในการใช้อำนาจปกครอง รวมทั้งสามารถออกกฎเกณฑ์ทางการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อบังคับใช้ในอีสาน อย่างไรนั้น ในช่วงแรกของการปกครองรูปแบบใหม่ ได้เกิดกระแสการต่อต้านและความไม่สงบขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่รัฐบาลสยามก็สามารถระงับเหตุการณ์ได้เป็นอย่างดี

References

การรถไฟแห่งประเทศไทย. (2559). “รอยทางรางเดิม ทางรถไฟสายแรก”. รถไฟสัมพันธ์. ฉบับเดือนมกราคม- กุมภาพันธ์ 2559, 10-13.
ขจร สุขพานิช. (2557). ข้อมูลประวัติศาสตร์: สมัยบางกอก. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2558). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มติชน.
จักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2555). การเมืองการปกครองไทย จากไพร่-ฟ้าหน้าใส สู่วาทกรรมไพร่-อำมาตย์.
(พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : Punch Group.
ชาร์ลส์ เอฟ คายส์. (2556). อีสานนิยม: ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศไทย. รัตนา โตสกุล แปล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2544). “การเมืองของการนิยามความหมาย “อีสาน” พ.ศ.2435-2475”. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 18(3), 1-12.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2545). เทศาภิบาล พระนิพนธ์ สมเด็จฯ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ. กรุงเทพฯ: มติชน
เดวิด เค. วัยอาจ. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
เตช บุนนาค. (2532). การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ.2435-2458. ภรณี กาญจนัษฐิติ แปล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
. (2551). ขบถ ร.ศ.121. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2557). ประวัติศาสตร์อีสาน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2559). โฉมหน้าราชาชาตินิยม: ว่าด้วยประวัติศาสตร์ไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2550). “การต่อสู้ระหว่างชายขอบกับศูนย์อำนาจ: ประวัติศาสตร์การสร้างอัตลักษณ์รัฐ ชาติไทย”. ไทยคดีศึกษา., 4(2), 1-40.
ธารทอง ทองสวัสดิ์. (2551). การปฏิรูปสังคมและการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5. ในเอกสารการสอนชุดวิชา ประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย. สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นันทนา กปิลกาญจน์. (2537). “การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ เรื่องการเมืองการปกครองในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: พ.ศ.2411-2453”. เกษตรศาสตร์ (สังคม)., 15(2), 161-174.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). กรุงแตก, พระเจ้าตากฯ และประวัติศาสตร์ไทย ว่าด้วยประวัติศาสตร์และ ประวัติศาสตร์นิพนธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: มติชน.
ประนุช ทรัพยสาร. (2551). “พัฒนาการของสังคมอีสาน ในพุทธศตวรรษที่ 24-25”. มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม, 2(2), 39-44.
พีรทิพย์ สุคันธเมศวร์. (2549). การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่นำไปสู่การสร้างรัฐชาติ. สารนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วิชัย เสวะมาตย์. (2510). การเลิกทาส ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มาร์ติน สจ๊วด-ฟอกซ์. (2556). ประวัติศาสตร์ลาว. จิราภรณ์ วิญญรัตน์ แปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
สมเกียรติ วันทะนะ. (2551). “กำเนิดรัฐสมัยใหม่”. สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 34(1), 161-174.
สมมาตร์ ผลเกิด. (2552). “กบฏผีบุญ: กระจกสะท้อนสังคมไทย”. วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์., 1
(ปฐมฤกษ์), 20-30.
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี. (2556). “ดินแดนบนแผ่นกระดาษ ความเข้าใจเรื่องเขตแดนไทย-ลาว”. ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ), เขตแดนสยามประเทศไทยกับลาวและกัมพูชา. หน้า 1-70. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
สุรชาติ บำรุงสุข. (2552). พรมแดนศึกษา. จุลสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 61. กรุงเทพฯ: สแควร์ ปริ๊นซ์ 93 จำกัด.
สุมิตรา อำนวยศิริสุข. (2524). กบฏผู้มีบุญในมณฑลอีสาน พ.ศ.2444-2445. สารนิพนธ์ ศิลปะศาสตร์บัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2549). “ปัญหาการเก็บส่วยในภาคอีสานก่อนสมัยปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5”.
วิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น., 11(3), 245-253.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2557ก). ประวัติศาสตร์อีสาน 2322-2488 เล่ม 1. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
. (2557ข). ประวัติศาสตร์อีสาน 2322-2488 เล่ม 2. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
อนุชิต สิงห์สุวรรณ. (2557). “การเปลี่ยนแปลงสำนักท้องถิ่นนิยมของคนอีสาน พ.ศ.2436 ถึง พ.ศ.2475”. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 5(2), 106-124.
เอกวิทย์ มณีธร. (2554). รัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอ็ม. ที. เพรส.

เผยแพร่แล้ว

2019-07-01

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ (Academic Articles)