湄公河之源—澜沧江流域民俗文化研究 (การศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่น ลุ่มแม่นํ้าหลานซาง - ต้นกำเนิดแม่นํ้าโขง)

ผู้แต่ง

  • Long Fei สาขาภาษาจีนธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์โดยความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และ GUIYANG UNIVERSITY

คำสำคัญ:

澜沧江, 流域, 民俗, 研究, แม่นํ้าหลานซาง, ลุ่มแม่นํ้า, ประเพณี, การศึกษา

บทคัดย่อ

一方水土养育一方人。民俗文化的形成与特有的地理 环境密不可分,民俗文化也会深深打下地域环境的烙印。澜 沧江作为湄公河的源头流段,其流域内生活着汉族、藏族、 羌族、白族、傣族等十余个民族,这些民族同饮一江水,共 享一条河,在历史的长河里逐渐形成了各自独特的民俗文化, 这众多的民俗文化相互交融,互为影响,从而形成了璀璨无 比的澜沧江流域民俗文化。

 

นํ้าและดินของแต่ละภูมิภาคย่อมเลี้ยงดูผู้คนในภูมิภาคนั้น ลักษณะของสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศสัมพันธ์ต่อการก่อตัวเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น ในขณะเดียวกันวัฒนธรรมท้องถิ่นก็ฝังลึกในรากวิถีชีวิตของคนเขตภูมิภาคนั้น แม่นํ้าหลานชางนับว่าเป็นต้นกำเนิดของแม่นํ้าโขง ทั้งยังเป็นแหล่งนํ้าที่ไหลผ่านและสะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนกว่า 10 ชนชาติที่อาศัยบริเวณนั้น อาทิ ชนชาติฮั่น ชนชาติธิเบต ชนชาติเชียงจู๋ ชนชาติไป่จู๋ ชนชาติไตเป็นต้น ซึ่งชนชาติเหล่านี้ล้วนอาศัยแม่นํ้าสายเดียวกันในการอุปโภคบริโภคและจัดประเพณีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต ส่งผลให้วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละชนชาติค่อยๆ ผสมผสานคลุกเคล้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างลงตัวจนก่อเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นที่โดดเด่นของชนเผ่าลุ่มแม่นํ้าหลานซาง

Downloads