นิทาน ตำนาน เรื่องเล่า : อัตลักษณ์ และความหมายทางวัฒนธรรมในจังหวัดศรีสะเกษ

ผู้แต่ง

  • ชานนท์ ไชยทองดี สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

นิทาน, ตำนาน, เรื่องเล่า, วรรณกรรมมุขปาฐะ, จังหวัดศรีสะเกษ, identities, cultural, communication, oral literature, Sisaket Province

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา นิทาน ตำนาน เรื่องเล่า ในจังหวัดศรีสะเกษในประเด็นอัตลักษณ์ และความหมายทางวัฒนธรรม โดยการวิจัยภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลประเภทมุขปาฐะ และการวิจัยเอกสารที่เกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบ้านตามระเบียบวิธีวิจัยทางคติชนวิทยา

ผลการศึกษาพบว่า นิทาน ตำนาน เรื่องเล่าที่เป็นวรรณกรรมมุขปาฐะในจังหวัดศรีสะเกษเมื่อนำมาวิเคราะห์ด้วยการตีความตามแนวคิด การสื่อความหมายทางวัฒนธรรมพบว่า นิทาน ตำนาน เรื่องเล่า ดังกล่าวสามารถสะท้อนอัตลักษณ์ และสื่อความหมายทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์วัตถุศักดิ์สิทธิ์ เทพศักดิ์สิทธิ์ บุคคลศักดิ์สิทธิ์สัตว์ศักดิ์สิทธิ์กับการสร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรมวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ และพืชศักดิ์สิทธิ์ นอกจากนี้ยังสะท้อนความสำนึกในถิ่นฐานบ้านเกิด การเคารพในวิถีธรรมชาติ การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งผี ทั้งพุทธศาสนา ทั้งหมดนั้นมาจากสภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งทางวัฒนธรรมของจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตภาคอีสานใต้ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสำหรับการตั้งถิ่นฐาน เป็นบ่อเกิดวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อของกลุ่มชนอันทรงคุณค่า สามารถสร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรม ภายใต้เงื่อนไขของการมีอยู่ของสังคม

 

Tales Legend Narrative : Identity and Sense of Culture in Sisaket Province The purposes of the research are to collect and create database in tales, legend and narrative and to maintain oral literature in Sisaket Province. The results found that there are 554 sacred stories. Mostly, the contents of the stories are quite similar to the fairy tale. There are about miracles and paranormal, and the settings are imagination world. There are the stories related to the real world which are called novella. There are the local legends which refl ect the ways of people’s living. Sometimes, the names of locations are addressed directly also the characters. The stories are concordant with the local legend. The explanatory are the stories to explain about the local and the natural phenomenon explicitly. The animal tales describe the origin of animals and their appearances. In the animal tales, the main characters are the animals and the stories showed their cleverness and the foolishness. There are also the tales which represent funny stories. There are religious tales which about religion and the tales about ghost and spirits.

The collected tales, legend and narrative are analyzed according to the idea of sense of culture. The analysis found that tales, legend and narrative can refl ect identity and sense of culture. Identity and sense are related to sacred places, sacred objects, sacred gods, sacred person, sacred animals, sacred spirit, and sacred plants. The research gathers oral literature in Sisaket Province in order to maintain and pass on them and to conserve their value and establish new senses.

Downloads