Errors Analysis in Klong Si Suparp Composing of Undergraduates in Thai major, Faculty of Humanities and Socials, Rajabhat Mahasarakham University

Main Article Content

ธนพล เอกพจน์

Abstract

Klong Si Suparp is a one type of Thai composing poem arranging from obligated prosody and pattern. Word choices with meaningful components are appropriately chosen related to those title’s content and outline. This study is a classroom research. The objective of this research is to analyze errors of composing Klong Si Suparp by 70 undergraduates in Thai major, Faculty of Humanities and Social sciences , Rajabhat Mahasarakham University who enrolled Thai prose and poetry course (3010106), 1stsemester, 2019 academic year. 70 worksheets of composing Klong Si Suparp practical were collected as main data. The result found that errors in composing Klong Si Suparp were using tonal words on non-tonal position, misuse of vowel alliteration between lines, misuse of major and minor words against composing rule, misuse of final particle word, and incomplete amount of words within prosody.

Article Details

Section
Research articles

References

กำชัย ทองหล่อ. (2543). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.

จินดา ลาโพธิ์. (2553). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรูแบบร่วมมือและเทคนิคผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้าง

ความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ไทย สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ชูศักดิ์ ศุกรนันทน์. (2549). ร้อยแก้วร้อยกรองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.

ทัศนีย์ ทานตวณิช. (2558). ข้อผิดพลาดในการเขียนเชิงวิชาการ ของนิสิตสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา.

วารสารวิชาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23(43), 1-29.

ธนู ทดแทนคุณ ปวีณา จันทร์สุวรรณ. (2559). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย: กรณีศึกษานักศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 1. 22 มิถุนายน 2559. หนา 750-758.

บารณี ถาวระ. (2541). ลักษณะคำประพันธ์ไทย. กรุงเทพฯ: ไทม์พริ้นติ้ง.

บุญเหลือ ใจมโน. (2555). การแต่งคำประพันธ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประไพร บรรลุ. (2553). การพัฒนาความสามารถการแต่งกลอนสุภาพ กลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่

โดยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค LT (Learning Together). วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปราณี นาคราช. (2547). การสร้างแบบฝึกการเขียนร้อยกรอง กาพย์สุรางคนางค์ 28 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

โรงเรียนวัดบ้านทวน จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปิยนิตย์ เปี่ยมงาม, ผกาวดี ปิกมา และประสิทธิ์ ชัยเสนา. (2544). รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาลักษณะข้อผิดพลาดใน

การเขียนภาษาไทยของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยา

เขตพิษณุโลก ปีการศึกษา 2544. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์. (2558). การพัฒนาแบบฝึกการแต่งโคลงสี่สุภาพสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

โรงเรียนกรับใหญ่ว่องกุศลกิจพิทยาคม ตำบลกรับใหญ่ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วารสารวิชาการ Veridian

E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(1), 939-957.

พิมพ์ใจ พจน์สมพงส์ . (2549). รายงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาแบบฝึกการเขียนบทประพันธ์ในงานอาชีพ สำหรับนักเรียน

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภณิดา จิตนุกูล. (2551). รายงานวิจัยเรื่อง ลักษณะข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีที่ 1

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา ปีการศึกษา 2550. สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

รณยุทธ เอื้อไตรรัตน์ และนันทพร ศรจิตติ. (2562). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนิสิต

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิฆเนศวร์สาร, 15(1), 87-100.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

วัฒนะ บุญจับ. (2544). การอ่านทำนองร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

วันชัย แก้วหนูนวล และภัสร์ธีรา ฉลองเดช. (2561). ลักษณะข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาไทย : กรณีศึกษาการเขียน

ภาษาไทยของนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 1-11.

วิเชียร เกษประทุม. (2550). ลักษณะคำประพันธ์ไทย (ฉันทลักษณ์). กรุงเทพฯ : พัฒนศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2555). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2562,

จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/news/news6.php.

สุมาลี พลขุนทรัพย์. (2559). ข้อผิดพลาดในการเขียนหนังสือราชการของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12. 14-15 พฤศจิกายน 2559. หนา 1223-1224.

สุรีย์รัตน์ บำรุงสุข. (2554). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างประเทศที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ :

กรณีศึกษานักศึกษาชาวเกาหลี. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

(1), 113-126.

อภิชาติ ชมภูทัศน ชูศักดิ์ ศุกรนันทน์และวีณา วีสเพ็ญ. (2556). การสร้างชุดการเรียนการสอนแต่งโคลงสี่สุภาพโดยใช้

เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือของเคแกน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาสารคาม, 7(2), 221-228.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2539). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.