The Synthesis of research related to teaching reading aloud and writing Thai spelling for foreign students
Main Article Content
Abstract
This study synthesized research related to teaching of reading aloud and spelling Thai words for foreign students during the years 2007 to 2020. It aimed at studying innovations used to improve the ability to read aloud
and spell Thai word among foreign learners and studying the target areas in developing such abilities. Data were collected and analyzed using descriptive statistics, i.e., percentages. The sample was 22 master's and doctoral thesis. The tools used in the research were a summary of the details of the research. And presenting the results of the research synthesis together with a description of the findings. The finding of the research were 1. Most of the research innovated the innovations that were designed
to help Chinese learning (40.90%), followed by Japanese (4.54%), Vietnamese (4.54%), and Burmese (4.54%) respectively. It also included the innovation developed for foreigner learners in general regardless of their ationalities
(45.45%). The most used trials were single-group trials and pre-post trials (63.63%), followed by single-group trials and post-experimental trials (13.63%) and there were some studies that did not experiment with the sample (22.7%).
The sampling process was mostly selectively selected (68.18%), followed by simple randomization (9.09%) and No sample (22.72%) 2. The most innovations used to improve the ability of reading aloud and/or spelling Thai words were skill exercises (54.54%), followed by textbooks (22.72%), activity packs (9.09%). Teaching media from computers (9.09%) and teaching Models (4.54%), respectively for the concept, the most used theory is linguistic theories (50 percent) and integrated integration of group processes, games, storytelling activities (59.09) 3. Developing the ability to read aloud and/or spell Thai words in terms of word composition. There are developments in the following areas: Consonants were found the most (36.36%), followed by consonants, vowels and tones (31.81%), consonants and vowels (18.18%), and the least was vowels (13.63%), which was the development of abilities in all 3 areas. Consonants consist of single consonant the diphthong consonants,
preceding consonants, final consonants and consonants marked with a posthumous mark on the vowel side consist of short vowels and long vowels, single vowels, compound vowels, and excess vowel which consists of a fixed vowel, the transforming vowels and the deforming vowels, and
finally, the tonal aspect. These 3 areas are skills that have been developed from 22 researches.
Article Details
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ Q1-Q4 ปี 2562 (ประเทศ). สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จากเว็บไซต์: https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=618
กรุงเทพธุรกิจ. ย้อนไทม์ไลน์ 100 วัน กับสถานการณ์โควิท-19 ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จากเว็บไซต์: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/875664
กฤษณา สุภาพักตร์. (2551). แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงควบกล้ำสำหรับชาวต่างชาติ.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กัลยา มะลิวัน. (2553). การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียนจีน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตหวู่หัว สังกัด
มหาวิทยาลัยยูนนาน นอร์มอล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กีรติ นันทพงษ์. (2564). การสังเคราะห์งานวิจัยทางการสอนภาษาไทยเป็นภาษาที่สองสำหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(2), 144-172.
คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2556). ฐานข้อมูล ThaiLIS Digital Collection of 96 Universities (TDC). สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2564, จากเว็บไซต์: http://tanee.oas.psu.ac.th/files/tutorial/e-databases/doc/tdc.pdf
ฐิติกานต์ แก้ววิเศษ. (2556). การออกแบบแบบฝึกอ่านออกเสียง สำหรับนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ณัฐนรินทร์ เมธีวุฒินันทน์ ภาณุภัทรธนวัฒน์. (2554). หนังสือเรียนหลักการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทัศนี ทองสมบุญ. (2555). การสร้างสื่อการสอนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่องรูปและหน่วยเสียงพยัญชนะไทยสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทัศน์วลัย เนียมบุบผา. (2551). แบบฝึกทักษะการเขียนสระลดรูปและสระเปลี่ยนรูปในภาษาไทย สำหรับนักเรียนชาวต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทัศวรรณ์ ณ พิกุล. (2551). การพัฒนาหนังสือเรียนการอ่านและการเขียนภาษาไทยเบื้องต้น สำหรับชาวต่างประเทศ เพื่อใช้ในโรงเรียนสอนภาษาวาย เอ็ม ซี เอ
เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธนพร บัตจัตุรัส. (2552). การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องแบบหัดอ่านภาษาไทยสำหรับนักเรียน ชาวต่างประเทศโรงเรียน บีเอฟ เอส จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ, อติวงศ์ สุชาโต, วิษณุ โคตรจรัส และปรมินท์ จารุวร. (2558). วิจัยและพัฒนาแบบฝึกอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงและการพูดภาษาไทยไม่ชัด (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทยสิรินธรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิธิอร พรอำไพสกุล และผกาศรี เย็นบุตร. (2561). การสังเคราะห์งานวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2), 109-151.
นิรานันท์ วิไลรัตนกุล. (2553). การพัฒนาแบบฝึกเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำสำหรับนักเรียนชาวต่างประเทศระดับกลางในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บัวทิพย์ ชูกลิ่น. (2550). การพัฒนาแบบฝึกการใช้คำราชาศัพท์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรีอยุธยาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้า
เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเขตราชเทวีกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุษบา บัวสมบูรณ์, สรัญญา จันทร์ชูสกุล, พินดา วราสุนันท์ และณัฐกิตติ์ นาทา. (2561). การสำรวจนวัตกรรมการสอนอ่านและเขียนภาษาไทยของครูในระดับชั้น
ประถมศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 10(1), 28-43.
ประภัสสร เกตุจันทร์. (2551). ชุดการสอนการสะกดคำด้วยอักษรกลางกับสระเสียงยาวสำหรับนักเรียนชาวต่างชาติระดับต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พรประภา จัตตุวัฒนา. (2553). การสร้างแบบเรียน เรื่องสระภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. นครปฐม: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการ ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร
มาลินี ณ นคร. (2553). การสร้างแบบเรียนเรื่องตัวสะกดภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลงทุนแมน. (2019). ไทยคือบ้านหลังที่ 2 ของคนจีน. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จากเว็บไซต์: https://www.longtunman.com/15690
ศิรภัสสร พิมพิรัตน์. (2553). แบบฝึกทักษะการสะกดคำด้วยอักษรต่ำกับสระเสียงยาวสำหรับนักเรียนชาวต่างชาติระดับต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สไบศักดิ์ คุรุธัช. (2557). แบบฝึกการสะกดการันต์คำไทยที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตสำหรับผู้เรียนชาวจีนโรงเรียนภาษาและดนตรีกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมพงษ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2549). การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. เชียงใหม่:มิ่งเมือง.
สมศรี วรประเสริฐศิลป์. (2552). แบบฝึกการออกเสียงพยัญชนะต้น /ด/ /บ/ /ร/ /ง/ สำหรับนักเรียนชาวจีน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สิริกร จิเจริญ. (2554). แบบฝึกการผันวรรณยุกต์สำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
สุรีย์วรรณ เสถียรสุคนธ์. (2551). การสอนภาษาไทยให้แก่ชาวจีน : สภาพ ปัญหา และแนวทางแก้ไข. ข่าวสารการวิจัยกองส่งเสริมงานวิจัย ฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัย
หอการค้า (มิถุนายน-กันยายน) : 15.
อภิญญา ปานชา. (2557). แบบเรียนการเขียนคำควบกล้ำสำหรับชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก. (2556). การสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์ในแบบเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชาวจีน : กรณีศึกษานักเรียนวิทยาลัยการ
ท่องเที่ยวและการอาชีพ มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: วิทยาลัยราชพฤกษ์.
เอกนรี แรงสูงเนิน. (2557). แบบฝึกการออกเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว และสระไทยที่เป็นปัญหาสำหรับผู้เรียนชาวญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Avery, P. & Ehrlich, S. (1992). Teaching American English pronunciation. Oxford [England] : Oxford University Press.
Book 199 Everyday Thai Phrases. (2557). Retrieved May 4, 2021, from http://www.e4thai.com/e4e/images/pdf/Everyday_Thai.pdf
Celce-Murcia, M., Brinton, D.M. & Goodwin, J.M. (2004). Teaching pronunciation: A reference for teachers of English to speakers of other languages. Cambridge: CUP.
Kenworthy, J. (1987). Teaching English Pronunciation. New York: Longman.
Lu Sheng. (2010). A Development of Thai Language Pronouncing Instructional Model using Phonetic Alphabet and Personal Interaction for Chinese Students. (Doctoral Dissertation). Burapha University, Chonburi .
Tan Guo Ming. (2011). Reading Skill Exercices Of Two-Syllable Words Pronunciation For Chinese Learners. (Master of Arts Thesis). Srinakharinwirot University, Bangkok.
Vu Thi Kim Oanh. (2010). A Construction of Pattern Drills in Pronunciation Problems of Thai Consonants for Students in Southern Vietnam. (Master of Arts Thesis). Srinakharinwirot University, Bangkok.