The Vietnamese Language among Thai-Vietnamese: An Endangered Language in That Phanom District, Nakhon Phanom Province

Main Article Content

Wirat Wongpinunwatana
Natthaphon Chareerak

Abstract

These quantitative research objectives were to a) investigate the first language or mother tongue, language proficiency, and language choices of Thai-Vietnamese, and b) evaluate the Vietnamese language situation among Thai-Vietnamese in That Phanom district, Nakhon Phanom province, under the theoretical framework of UNESCO Language Situation Assessment. The research instrument employed questionnaires to investigate the mother tongue, language proficiency, and language choices' usage in domestic and external contexts. The sampling method was purposive sampling and consisted of ninety Thai-Vietnamese in three age ranges. For the data analysis, the statistical data, such as frequency, percentage, standard deviation, Chi-Square, and F-test, were proceeded with in this study. The results indicated that 1) Vietnamese usage seems to have disappeared among the under-25-year old group and been replaced by Lao-Isan instead, and 2) all three age groups had a statistically significant difference in both listening and speaking proficiency in Vietnamese at 0.05 points, 3) the under-25-year old group tended to choose Thai in domestic and external contexts and rarely chose Vietnamese, whereas the other two age groups tend to mix Vietnamese with Lao-Isan and Thai, 4) From the data analysis, this study can infer that the Vietnamese language among the Thai-Vietnamese in That Phanom district, Nakhon Phanom Province was in a critical concern at the "definitely endangered to severely endangered level."

Article Details

Section
Research articles

References

กรรณิการ์ วรหาร. (2556). การสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นเวียดนามของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในหมู่บ้านมิตรภาพไทย-เวียดนาม อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน,

จตุพร ดอนโสม. (2551). การสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม บ้านนาจอก ตำบลหนองญาติ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย.

ณัฐพล ชารีรักษ์. (2563). การเลือกใช้ภาษาของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทในโรงเรียนธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย.

ณัฐพล ชารีรักษ์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา (2564ก). การเลือกใช้ภาษาของวัยรุ่นผู้ไทในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 1-24.

ณัฐพล ชารีรักษ์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2564ข). ภาวะหลายภาษาของวัยรุ่นผู้ไทในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 10(1), 54-80.

ณัฐพล ณ สงขลา. (2563). บทบาทของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในการส่งเสริมความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม: ศึกษาระหว่าง ค.ศ. 2001-2019. หลักสูตรนักบริหารการทูต (รายงานการศึกษาส่วนบุคคล). สถานบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปกร กระทรวงการต่างประเทศ.

ทวี รุ่งโรจน์อุดมผล. (2564, 27 เมษายน). นายกสมาคมชาวไทยเชื้อสายเวียดนามอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. [สัมภาษณ์].

นวพล กรรณมณีเลิศ. (2559). ทัศนคติต่อภาษาและการเลือกใช้ภาษาของชาวไทยพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย.

นิภากร กำจรเมนุกูล. (2556). การสื่อสารการเมืองของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น

บุษบา แฝงสาเคน. (2557). การเลือกใช้ภาษาและทัศนคติที่มีต่อภาษาไทยถิ่นโคราชของประชากรชาวไทยโคราช. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.

เบญจนา เสนไสย. (2556). การเลือกภาษาและการสลับภาษาระหว่างภาษาเขมรถิ่นไทยและภาษากลางของชาวบ้านหนองเข้ ตำบลสุขสบูรณ์ อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย.

ฝ่าม แทนห์ ฮ่าย. (2559). ความสามารถในการใช้ภาษาและการเลือกใช้ภาษาของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย.

พงษ์เทพ โรจน์วิรัตน์. (2564, 27 เมษายน). ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. [สัมภาษณ์].

ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บริษัทรุ่งศิลปะการพิมพ์.

พัชรา อัมพวานนท์. (2551). การธำรงและการเปลี่ยนภาษาในชุมชนมอญ กรณีศึกษาชุมชนบางขันหมาก ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.

พิมพ์ชนา พาณิชย์กุล. (2554). การเลือกภาษาและการธำรงภาษาของคนไทยเชื้อสายมอญบางขันหมาก จังหวัดลพบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.

เฟื่องฟ้า ลัยมณี. (2556). การผสมกลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในจังหวัดสกลนคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย.

มธุรส คุ้มประสิทธิ์. (2562). การศึกษาสถานภาพทางภาษาของภาษามอญที่ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 12(4), 1747-1766.

ยูทากะ โทมโอกะ. (2552). ทัศนคติต่อภาษาและการเลือกภาษาของคนไทยอีสานที่มีอายุต่างกัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญา-มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.

วรรธนะ ปัญบุตร และสุวัฒนา เลียมประวัติ. (2561). การเลือกภาษาของชาวผู้ไทอำเภอคำม่วงและอำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(3), 1747-1766.

สราวุฒิ ไกรเสม. (2552). การธำรงและการเปลี่ยนภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์อุรักละโวยในตำบลรัษฎา อำเภอเมืองหวัดภูเก็ต. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.

สุทธิดา จันทร์ดวง. (2560). การแปรการใช้ศัพท์ของคนสามระดับอายุในภาษาผู้ไทกะป๋องประเทศไทยและสาธารณรัฐ-ประชาธิปไตยประชาชนลาว. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2547). ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์: ทรัพยากรล้ำค่าหรือปัญหาที่แก้ไม่ตก. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 23(2), 15-24.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์. และคณะ. (2547). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2548). วิกฤตทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์: ปัญหาหรือโอกาส. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 24(1): 5-9.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2549). สถานการณ์ทางภาษาในสังคมไทยกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 25(2), 5-17.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2532). คำจำกัดความศัพท์ในภาษาศาสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Crystal, D. (2000). Language Death. Cambridge: Cambridge University Press.

Lenore A. Grenonle. (2011). Language Ecology and Endangerment. In Peter K. Austin and Julia Sallabank (Ed.), The Cambridge Handbook of Endangered Languages. (pp. 27-44). New York: Cambridge University Press.

Isa, B. Z., Ahmed H. K. & Grema, Y. (2014). Language Death and Endangered Language. IOSR Journal Of Humanities And Social Science. 19(10), 46-48.

Thanh, P. H. & Chanthao, R. (2016). Language Competence and Choice of Vietnamese-Thais in Thailand. Journal of Mekong Societies, 12(3), 65-81.

UNESCO. (2003). Language Vitality and Endangerment. Presented at the International Expert Meeting on UNESCO Programme Safeguarding of Endangered Languages, Paris: UNESCO Ad Hoc Expert Group on Endangered Languages.