ความสัมพันธ์ระหว่างคำเรียกกับการประกอบสร้างอัตลักษณ์ผู้หญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทย

Main Article Content

Pikul Phuchomsri
Thinnawat Sroikudrua

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคำเรียกกับการประกอบสร้างอัตลักษณ์ผู้หญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทยจำนวน 88 ตัวบท โดยใช้กรอบแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ผลการวิจัยพบว่าการใช้คำเรียกประกอบสร้างอัตลักษณ์ผู้หญิงลาว 3 อัตลักษณ์ ได้แก่ (1) การเป็นผู้มีความงามทั้งภายนอกและภายใน (2) การเป็นหญิงที่มีค่าหรือเป็นสิริมงคล (3) การเป็นผู้อนุรักษ์วัฒนธรรม และ(4) การเป็นคนพลัดถิ่นในประเทศไทยและประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับสถานบันเทิงหรือร้านอาหาร อัตลักษณ์ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับวิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรมว่าด้วยเรื่องผู้หญิงกับความงาม และแรงงานหญิงลาวในประเทศไทย

Article Details

บท
Research articles

References

กชกรณ์ เสรีฉันทฤกษ์. (2551). วาทกรรมความงามของผู้หญิงในสังคมไทย : มุมมองพหุมิติ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์.

กัลยา ติงศภัทิย์, อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2531). การใช้คำเรียกขานในภาษาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2557). การวิเคราะห์ข้อความ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ. (2552). กลยุทธ์ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของแรงงานข้ามชาติจากชายแดนกัมพูชา- ลาวที่ทำงานในประเทศไทยภายใต้กระแสการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง, วารสารลุ่มน้ำโขง, 5(2), 23-44.

ณัฐพร พานโฑธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมา ศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงเดือน บุนยาวงส์. (2547) . ตัวตนผู้หญิงลาวในวรรณกรรม. ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิผู้หญิง กฎหมายและการพัฒนาชนบท, เชียงใหม่.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2545). งานเขียนทางประวัติศาสตร์ของลาวสมัยได้รับเอกราช ค.ศ.1945 จนถึง

ปัจจุบัน. ใน สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (บรรณาธิการ). โคนไม่ติดล้อคนไม่ติดกรอบ. (หน้า 363). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2558). ภาษากับอัตลักษณ์เมียฝรั่งในวาทกรรมสาธารณะ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ไทยพบลิก้า. (2560). ปัญหาค้ามนุษย์จากกัมพูชา-ลาว-เมียนมา สู่ไทย – “หนี้สิน”แรงผลักแรงงานย้ายถิ่น

ผิดกฏหมาย. สืบค้าเมื่อ 20 สิงหาคม 2560, จาก https://thaipublica.org/2017/08/trafficking-in- persons-clmv-unodc-tij/

เนตรดาว เถาวถวิล. (2549). เพศพาณิชย์ข้ามพรมแดน: ประสบการณ์ของหญิงลาวในธุรกิจบริการทางเพศใน พรมแดนไทย-ลาว. วารสารสังคมศาสตร์, 18(2). 170-202.

รัชนินท์ พงศ์อุดม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม: การศึกษาวาทกรรม

โฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปารณีย์ ชะหงส์รัมย์, ธวัช ทันโตภาศ, กนกวรรณ มโนรมย์, & ศรันย์ สุดใจ. (2556). การผลิตซ้ำทาง อุดมการณ์ “ปิตาธิปไตย” ในหนังสือเรียนการศึกษาภาคบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ, 3(5), 11- 27.

ลําพอง คัญทลีวัน. (2551). ภาพตัวแทนผู้หญิงในนิตยสารของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ช่วงปี

ค.ศ 2002-2007. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วรรณพร ปันทะเลิศ. (2558, มีนาคม). ผู้หญิงลาวที่ทำงานร้านคาราโอเกะในประเทศไทย: การย้ายถิ่นและ การใช้ชีวิตข้ามพรมแดน. รายงานการสัมมนาวิชาการ เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล 2558 “ผู้หญิง และเพศภาวะข้ามแดน”, ภาควิชาสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิลุบล สินธุมาลย์. (2554). การรับรู้ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-ลาว: ผ่านแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยและ

ลาว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 (ค.ศ.1975-2009). วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2553). โครงการวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพและความงามภาษา ไทย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ. (2550). ความสัมพันธ์ไทย-ลาวในสื่อบันเทิงไทย: ศึกษากรณีการประกอบสร้างอัต ลักษณ์ความเป็นลาวจากภาพยนตร์เรื่อง “หมากเตะโลกตะลึง”. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎี บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมหมาย ศรีบุญเฮือง. (2554 ).การสร้างอัตลักษณ์ผู้หญิงลาวโดยรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ตั้งแต่ ค.ศ. 1975 ถึงปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สาวิตรี คทวณิช. (2549). วาทกรรมศึกษาเพื่อการวิจัยทางสังคม: กรอบทฤษฎีเพื่อการวิจัยเชิงประจักษ์. ใน กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์, & จันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ). มองสังคมผ่านวาทกรรม. (หน้า23-

. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุลิยา คำวงสา. (2554). สภาพทั่วไปและผลของการไปทำงานในประเทศไทยของแรงงานลาว. วิทยานิพนธ์ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

เสฐียรโกเศศ นาคะปะทีป. (2516). ประชุมเรื่องพระรามและแง่คิดจากวรรณคดี. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.

Davis, K. (1995). Reshaping the female body: The dilemma of cosmetic Surgery. New York: Routledge.

Fairclough, N. (2010). Critical Discourse Analysis: The Critical Study of language. New York: Longman.

________. (1992). Discourse and Social Change. Cambridge: Polity Press.

________. (1995). Media Discourse. London: Edward Arnold.

Fairclough, N. & Wodak, R. (1997). Critical Discourse Analysis. In T.A. Van Dijk (ed.),Discourse as Social

Interaction. London: Sage, 258-85.

Van Dijk, T.A. (1997). Discourse as Structure and Process. London, Thousand Oaks and New Delhi: SAGE

Publications.

________. (2008a). Discourse & Power. New York: Palgrave Macmillan.

________. (2008b). Discourse and context: a sociocognitive approach. New York:Cambridge University

Press.