บริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการก่อตัวและการพัฒนาของตึกแถว ในภูมิทัศน์ย่านประวัติศาสตร์ทับเที่ยง จังหวัดตรัง
Keywords:
ตึกแถว, พัฒนาการทางสถาปัตยกรรม, ทับเที่ยง, ตรัง, Shophouse, Development of Architecture, Tub Tiang, TrangAbstract
การศึกษาเรื่อง “บริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการก่อตัวและพัฒนาการของตึกแถวในย่าน ประวัติศาสตร์ทับเที่ยง จังหวัดตรัง” โดยศึกษาผ่านการบูรณาการกรอบความคิดทั้ง “รูปแบบทาง สถาปัตยกรรม” และ “บริบท” เข้าด้วยกัน เพื่อพิจารณาบริบทแวดล้อมที่สัมพันธ์กับการก่อตัวของ ตึกแถว ซึ่งได้จำแนกพัฒนาการทางสถาปัตยกรรมของตึกแถวการค้าในย่านประวัติศาสตร์ทับเที่ยง ออกเป็น 7 ระยะ คือ “ตึกแถวแบบท้องถิ่น ระยะที่ 1” “ตึกแถวแบบท้องถิ่น ระยะที่ 2” “ตึกแถว แบบสรรค์ผสาน” “ตึกแถวแบบท้องถิ่น ระยะที่ 3” “ตึกแถวแบบอาร์ตเดคโค่” “ตึกแถวแบบสมัย ใหม่ระยะต้น” และ “ตึกแถวสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่”
Contexts Affecting Architectural Form of Shophouse and Its Development, Historic Urban Landscapes of Tub Tiang, Trang Province
Pat Wongpradit
Phd.D. Candidate in Vernacular Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University
Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D.
Lecturer, Department of Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University
Ornsiri Panin
Professor Emeritus, Department of Architecture Faculty of Architecture, Kasetsart University
The study of contexts affecting construction and its development in historic urban landscapes of Tub Tiang, Trang Province is based on architectural forms and related factors so as to figure out the correlation. The development of shophouses can be identified into seven phases comprising Localization-Style Step; Localization Style Step 2; Eclectic Style; Localization Style Step 3; Art Deco Style; Early Modernism Style; and Modern and Post Modern.