Inbetween Place : The Presence of Transitional Intervals

Authors

  • Narongpon Laiprakobsup Faculty of Architecture, Kasetsart University

Keywords:

ความระหว่าง, พื้นที่ว่าง, รอยต่อพื้นที่, Inbetween Place, Environmental Presence, Edges of Place, Juxtapositions

Abstract

       This paper is to reconsider transitional modes of places, known as the inbetweens, as a suggestive domain for environmental connectedness. The inbetween has barely been regarded as a potential place for embodiment,choices, and “means of getting there” in place design. Thus, it aims to develop and introduce inbetween place—a synthesis between two terms place and inbetween modes as a living form of the interval.

        The examination focuses on the inbetween embodiment at the Kimbell Art Museum, Fort Worth, Texas, in order to discover the nature of inbetween places—what makes the inbetweens a place of living intervals. It relies upon the preposition that inbetween spaces can develop into places if the inbetweens manifest themselves as having presence of living forms for connectedness, pause, and embodied places as well as potentials of inbetween modes. With a thematic thread of analysis, this study argues that inbetween places manifests itself as a place: 1) a lived entity as presence of vital, living forms of inbetween modes; 2) being situated in juncture, the ways in which the interval realm connects nearby domains; and 3) performing as transition and reconciliation of the less predetermined (programmed) nature.1 All three interweaving qualities are intrinsically embedded into inbetween places for creation of systemic relationships of place.

 

ณรงพน ไล่ประกอบทรัพย์ 

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสร์

        ที่ว่าง “ระหว่าง” มีความสำคัญในการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมเสมือนพื้นที่แห่งการเชื่อมต่อ แต่ทฤษฎีการออกแบบสภาพแวดล้อมแทบจะไม่ขยายความสำคัญและศักยภาพของ “ความระหว่าง” ของพื้นที่ที่แตกต่าง ในที่นี้พื้นที่ “ระหว่าง” จะได้รับการพิจารณาและค้นหาการดำรงตนของสถานที่ที่สามารถก่อให้เกิดประสบการณ์ของการเปลี่ยนถ่ายระหว่างของพื้นที่ สุนทรียภาพของรอยต่อ และวิถีของการเข้าถึงสถานที่ ดังนั้นบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาความสำคัญและแก่นความหมายของ “สถานที่แห่งความระหว่าง” โดยการพิจารณาปฏิสัมพันธ์ระหว่างความหมายและกระบวนการของความเป็นสถานที่และวิถีแห่งระหว่างการศึกษามุ่งประเด็นการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะคิมเบล แห่งเมืองฟอร์ทเวิธ มลรัฐเท็กซัส ซึ่งประกอบด้วยระบบที่ว่างระหว่างที่หลากหลายเพื่อค้นหาปัจจัยที่ก่อเกิดสถานที่แห่งความระหว่าง การวิเคราะห์ดำรงบนสมมติฐานที่ว่าสถานที่แห่งความระหว่างสามารถก่อเกิดขึ้นได้จากการดำรงอยู่ของสภาพแวดล้อมและการสัมผัสรู้แห่งสถานที่ซึ่งทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์ของการเชื่อมต่อและรอยต่อของความต่างของที่ว่าง ความรู้และการเข้าใจคุณลักษณะเฉพาะของสถานที่แห่งความระหว่างจะนำไปสู่การสร้างสรรค์ประสบการณ์และความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์

Downloads

How to Cite

Laiprakobsup, N. (2016). Inbetween Place : The Presence of Transitional Intervals. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 23, 17. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/45079

Issue

Section

ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม | Architectural Theory and Design