สํานึกในถิ่นทีของเรือนค้าขาย กรณีศึกษา : เรือนค้าขายย่านตลาดท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Authors

  • ศศิธร คล้ายชม สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

สํานึกในถิ่นที่, เรือนค้าขาย, Sense of place, Shop house

Abstract

        การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ที่สามารถอยู่ร่วมกับบริบทในท้องถิ่นได้อย่างกลมกลืน รวมทั้งผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมเก่าและใหม่ได้อย่างลงตัว ด้วยการใช้สํานึกในถิ่นที่อันเป็นความสามารถในการระลึก รู้สึกได้ ถึงความแตกต่างของสถานที่ ตําแหน่งทีตั้งและรูปทรง โดยใช้เรือนค้าขายในย่านตลาดท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นกรณีศึกษา


Sense of Place in Shop House: Tarue Market, Ayuthaya Province

        This study explores the concepts of architectural designs that are harmoniously congruent with the contexts and well blend traditional and modern culture together. The approach of the sense of place is employed. Shop houses in Tarue Market, Ayuthaya Province are selected as a case study.

Downloads

How to Cite

คล้ายชม ศ. (2016). สํานึกในถิ่นทีของเรือนค้าขาย กรณีศึกษา : เรือนค้าขายย่านตลาดท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 20, 57. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/45459

Issue

Section

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม | Vernacular Architecture and Cultural Environment