ความแปรเปลี่ยนของภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้าแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม

Authors

  • Isarachai Buranaut บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

ภูมิทัศน์วัฒนธรรม, ชุมชนริมนํ้า, ความแปรเปลี่ยน, แม่นํ้าแม่กลอง, จังหวัดสมุทรสงคราม, Cultural Landscape, Waterfront Communities, Vernacular Architecture, Changes, Mea Klong River, Samutsongkham

Abstract

        จากการศึกษา “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้า” ในพื้นที่ศึกษาที่แบ่งออกเป็นสองบริบท คือ “พื้นที่ชุมชนบริบทเมือง” และ “พื้นที่ชุมชนในบริบทชนบท” พบว่า ภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้าในบริบทชนบทสามารถรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนไว้ได้เป็นอย่างดี และมีความรู้จำนวนมากมายแฝงฝังอยู่ในวิถีการดำเนินชีวิตที่รอคอยการศึกษาเชิงลึกในเรื่องต่างๆ ต่อไป สำหรับในการศึกษานี้ได้จำแนกภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้าที่น่าสนใจออกเป็น 3 กลุ่ม คือ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมสวนริมนํ้า” “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมวัดริมนํ้า” และ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่อยู่อาศัยริมนํ้า” อย่างไรก็ดี ภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้ากำลังเริ่มเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจาก “ผลกระทบที่มีมูลเหตุมาจากปัจจัยจุลภาค” ที่เป็นปัจจัยในครัวเรือน และ “ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัจจัยมหรรพภาค” ที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่โดยปราศจากความเข้าใจในความเปราะบาง ความซับซ้อนและความหลากหลาย แตผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาดังกล่าวกับเป็นเพียงประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่ที่ยังชีพด้วยการอิงอาศัยสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศเป็นหลัก

 

The Changes of Cultural Landscapes of Waterfront Communities along the Mae Klong Rive, Samutsongkhram Province

Researcher: Isarachai Buranaut
Advisor: Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D.
Co-Advisor: Emeritus Professor Onsiri Panin
Master Degree Student in Vernacular Architecture Program, Silpakorn University

        The study of “The cultural landscape of waterfront communities” , which is divided into two studies areas contexts ; the fi rst one is urban community context and the second is rural community context.

        This finding reveal that the cultural landscape in the context of rural community is able to excellent maintain their cultural identities. There are also many knowledge hidden in their ways of life and waiting for deeply advance explore in next time. For this study is classifi ed the interesting cultural landscape of waterfront community into 3 categories: 1) The Cultural landscape of waterfront agricultural 2) The Cultural landscape of waterfront temple 3) The Cultural landscape of waterfront residential

        Nevertheless, the cultural landscape of waterfront community is going to adapt and adjust due to the eff ect caused of “micro factor” that originated by the household’s factor and the eff ect caused of “macro factor” originated by the development without any comprehension in fragility, complexity and diversity. However, the victims of this eff ect caused from the development are people who live in this area and mainly subsistence related with environments and ecology.

Downloads

How to Cite

Buranaut, I. (2016). ความแปรเปลี่ยนของภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมนํ้าแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 25, 163. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/48522

Issue

Section

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม | Vernacular Architecture and Cultural Environment