สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นชาวอาข่า หมู่บ้านเหมืองแร่ ต.แม่คะ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
Keywords:
ชาติพันธุ์อาข่า, นิเวศวัฒนธรรม, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, การตั้งถิ่นฐาน, Akha ethnic, Cultural ecology, Vernacular Architecture, SettlementAbstract
กลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ในชุมชนอาข่า หมู่บ้านเหมืองแร่ ต.แม่คะ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าที่นับถือศาสนาคริสต์มาก่อนการเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ศึกษา จึงทำให้ไม่พบองค์ประกอบผังหมู่บ้านที่เกี่ยวเนื่องกับคติการวางผังแบบจารีตดั้งเดิม อันเป็นเอกลักษณ์ในหมู่บ้านของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า พบเห็นความเปลี่ยนแปลงทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่อยู่อาศัยของชาติพันธุ์อาข่า อันเป็นผลมาจากความเชื่อ และการเปลี่ยนศาสนา ที่มีผลต่อการสร้างสภาพแวดล้อมของหมู่บ้านที่แตกต่างไปจากบรรพบุรุษเดิม อีกทั้งวิถีชีวิตที่เริ่มเปลี่ยนแปลง ทำให้สถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยที่เกิดขึ้นภายใต้เหตุการณ์ดังกล่าว เกิดการเปลี่ยนแปลงจากจารีตเดิม ทั้งนี้ก็เพื่อตอบสนองวิถีชีวิตซึ่งต้องดำเนินอยู่บนข้อจำกัดทางสภาพแวดล้อม สังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจเพื่อดำรงชีพเป็นสำคัญ
Vernacular Architecture of Akha: Muang Rae village, Mae ka, Fang, Chiang Mai
Panaporn Srimoon
Master Degree Student in Vernacular Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University
Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D.
Department of Architecture, Faculty of Architecture, Silpakorn University
The Akha ethnic in Akha community at Muang Rae village, Mae ka sub district, Fang district, Chiang Mai province is Akha ethnic who adheres to Christianity before they settled down at the research area. So, the blue print of the village which leads to their traditional customs concept wasn’t found. In contrast, the changes of vernacular architecture has been discovered which were results from beliefs and religion changed. The changes affected to the village surrounded which was different from their ancestors’ style. Further, since their ways of life have been changed, these affect to housing architecture as people have to live with limited natural resources, present culture and society, and unstable economy in order to be survived.