การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อออกแบบศูนย์แพทย์ชุมชนพรุใน เกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา

Authors

  • เมฆ สายะเสวี บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ฉวีวรรณ เด่นไพบูลย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม, เวชศาสตร์ครอบครัว, สถาปนิกชุมชน, การใช้ชุมชนเป็นฐาน, Participatory Action Research, family medical science, community architect, community based approach

Abstract

        สถานีอนามัยของชุมชนซึ่งเป็นแบบมาตรฐานทั่วประเทศ มีข้อจำกัดทั้งบุคลากรและงบประมาณ ทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยไม่ทั่วถึง การศึกษาเรื่อง “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อออกแบบศูนย์แพทย์ชุมชน: กรณีศึกษา ศูนย์แพทย์ชุมชนพรุใน ชุมชนมุสลิม เกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา” มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ คือ 1) ศึกษากระบวนการออกแบบโดยใช้หลักเวชศาสตร์ครอบครัว 2) ศึกษาการบริหารการออกแบบอย่างมีส่วนร่วม โดยใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 6 เดือน การศึกษาใช้วิธีสังเกตุอย่างมีส่วนร่วมผ่านการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการในกิจกรรมทุกขั้นตอน พบว่า 1) กระบวนการของประชาชนในพื้นที่มีส่วนทำให้การออกแบบศูนย์แพทย์เป็นไปตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว 2) การออกแบบและวางผังนี้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการดูแลผู้ป่วย 3) ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจต่อรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์แพทย์และให้การสนับสนุนการบริหารโครงการตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว

 

The participatory action research for public health center design: The case study of Prunai public health center, Phang Nga Province

Mek Sayasevi
Master Degree student, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University

Assistant Professor Chaweewan Denpaiboon, Ph.D.
Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University

        According to conventional design-standard for community healthcare center in whole country. It has a limitation of officer and budget cannot take care all over the patients. The study seeks to develop an innovative design of public health center and social community development by the people participation, the research study is The participatory action research for public health center design: The case study of Prunai public health center, Phang Nga Province. The objective of the study are two aspects as follows; 1) to study the design process based on the concept of family medical science and 2) to study the participatory of design management. The study, after mentioning a problem of public health center services in the case study, the review of Participation Action Research. The research method comprised the process of participation action research by observation, workshop and interview, and 6 months spent to carry out. To find out the results, observational surveys were used in each stage of research methodology. The result revealed that 1) Roles of people participation significantly contribute to the success of design process base on family medical science, 2) The participatory design process potentially increase effectiveness of healthcare services, and 3) local people have understood the basic concept of healthcare center’s administration and they all support the project under the family medical science.

Downloads

How to Cite

สายะเสวี เ., & เด่นไพบูลย์ ฉ. (2016). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อออกแบบศูนย์แพทย์ชุมชนพรุใน เกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 26, 345. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/48682

Issue

Section

ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม | Architectural Theory and Design