การพัฒนาตัวชี้วัดการประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • จารุกัญญา อุดานนท์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การพัฒนาตัวชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงาน โรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบการประเมิน และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบในประเทศไทย โดยผู้วิจัยได้กำหนดตัวแบบ CIPPES ขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินผลการดำเนินงาน โดยนำเอาจุดแข็งของตัวแบบ CIPP และ CIPIEST มาประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นแนวคิดหลัก จากนั้นนำแนวคิดที่ได้มาสังเคราะห์เพื่อให้ได้ภาพรวมขององค์ประกอบหลักและตัวชี้วัดที่สอดคล้องในแต่ละองค์ประกอบหลักเพื่อสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย และดำเนินการยืนยันตัวชี้วัดโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมคือแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง  

ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบหลักในการประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุในประเทศไทยมีจำนวน 6 มิติ ได้แก่ (1) มิติด้านบริบท (2) มิติด้านปัจจัยนำเข้า (3) มิติด้านกระบวนการ (4) มิติด้านผลผลิต (5) มิติด้านประสิทธิผล และ (6) มิติด้านความยั่งยืน จำแนกเป็นมิติด้านบริบท มีจำนวน 3 ตัวชี้วัดหลัก 15 ตัวชี้วัดย่อย มิติด้านปัจจัยนำเข้า มีจำนวน 4 ตัวชี้วัดหลัก 16 ตัวชี้วัดย่อย มิติด้านกระบวนการ มีจำนวน 3 ตัวชี้วัดหลัก 17 ตัวชี้วัดย่อย มิติด้านผลผลิต มีจำนวน 2 ตัวชี้วัดหลัก 9 ตัวชี้วัดย่อย มิติด้านประสิทธิผล มีจำนวน 2 ตัวชี้วัดหลัก 10 ตัวชี้วัดย่อย และมิติด้านความยั่งยืน มีจำนวน 2 ตัวชี้วัดหลัก 9 ตัวชี้วัดย่อย รวมตัวชี้วัดทั้งสิ้น 16 ตัวชี้วัดหลัก 76 ตัวชี้วัดย่อย โดยตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบในประเทศไทยนี้จะนำไปเป็นแนวทางการบริหารและการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลอย่างมีประสิทธิภาพในโรงเรียนผู้สูงอายุต่อไป

References

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2560). คู่มือการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2561, จาก http://www.dop.go.th/download/ knowledge/knowledge_th_20163105151142_1.pdf
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). คู่มือโรงเรียนผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ.
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ.2560. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2561, จาก
http://www.dop.go.th/download/knowledge/th1552463947-147_0.pdf
ณรินี แย้มสกุล. (2553). การพัฒนาตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิสังกัดสำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทย. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยคริสเตียน.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2546). การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตนะ บัวสนธ์. (2557). รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPIEST: มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในการใช้ CIPP and
CIPPIEST Evaluation Models: Mistaken and Precise Concepts of Applications. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(2), 7-14.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2549). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2554). การใช้แบบจำลอง CIPP ในการประเมินการรับเบี้ยเลี้ยงยังชีพของผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
_______. (2560). การถอดบทเรียนตัวอย่างที่ดีของโรงเรียนและชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมถ่ายทอดความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2545). ทฤษฎีการประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2547). การประเมินผลองค์การมหาชนและหน่วยงานในกำกับของรัฐ. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุวิมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2561). คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2561, จาก
http://www.bangkok.go.th/thonburi/page/sub/11859
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2560). สถิติประชากรและบ้าน-จำนวนประชากรแยกรายอายุ. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2561, จาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php
สมคิด พรมจุ้ย. (2542). เทคนิคการประเมินโครงการ. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
________. (2546). เทคนิคการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมชาย ดุรงค์เดช. (2542). การประเมินผลโครงการ: แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี และธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2560). โครงการประเมินผลการดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์
ภูมิภาคประจำปี งบประมาณ 2556-2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
Bryant, C., & White, L.G. (1976). Managing Development in the Third World. Colorado: Westview.
Bullinger, M. (2003). International comparability of health interview surveys: An overview
of methods and approaches. Retrieved December 8, 2018, from www.euro.who.int/ document/HIS/004 chapt01.pdf.
Burke, K. (2014). Balanced Assessment: From Formative to Summative. Bloomington, IN:
Solution Tree Press.
Duming, S.J., Hemmer, P. & Pangaro, L.N. (2007). The Structure of Program Evaluation: An Approach for Evaluating a Course, Clerkship, or Components of a Residency or Fellowship Training Program. Teaching and Learning in Medicine, 3(19), 308-318.
Frye, A.W., & Hemmer, P.A. (2012). Program Evaluation Models and Related Theories. Medical
Teacher, 5(34), 288-299.

Hawkins, R.E. & Holmboe E. S. (2008). Constructing an Evaluation System for an Educational
Program. In R. E. Hawkins, and E. S. Holmboe, Practical Guide to the Evaluation of Clinical Competence. Philadelphia, PA: Mosby, Inc.
Johnstone, J.N. (1981). Indicators of education systems. London: UNESCO.
Patton, M. (2011). Developmental Evaluation: Applying Complexity Concepts to Enhance Innovation and Use. New York: Guilford Press.
Robbins, S.P. (1973). The Administration Process: Integrating Theory and Practice. Englewood Cliff, New Jersey: Pretice – Hall.
Rossi, P.H. & Freeman H.E. (1982). Evaluation: A systematic approach. Beverly Hill: Sage.
Scriven, M. (1967). The methodology of evaluation. In R. W. Tyler, R. M. Gagné, & M. Scriven (Eds.), Perspectives of curriculum evaluation. Chicago, IL: Rand McNally.
Stufflebeam, D. & Shinkfield, A. (2007). Evaluation Models, Theories, and Applications.
San Francisco, CA: Jossey Bass/John Wiley & Sons.
Stufflebeam, D., Gullickson, L.A. & Wingate L. (2002). The Spirit of Consuelo: An Evaluation of Ke Aka Ho'ona. Kalamazoo: Western Michigan University Evaluation Center.
Suchman, E.A. (1987). Evaluation Research: Principle and Practice in Public Service and Social
Action Programs. New York: Ruge Sage Foundation.
Tessmer, M. (1993). Planning and Conducting Formative Evaluations. London: Routledge.
Veillard, J., Guisset, A. & Garcia-Barbero, M. (2003). Selection of indicators for hospital performance measurement. A report on the 3rd and the 4th workshop, June and September 2000 at Barcelona Spain.
Vitrai, J. (2004). Experiences on a policy-driven selection on health indicators. Working paper No.10. Retrieved December 7, 2004, from www.unece.org/stats/documents/ces/ ac.36/2004/wp.10.e.pdf.
Willoughby, K. G. (2014). Public Budgeting in Context: Structure, Law, Reform, and Results.
New York: Jossy-Bass.
World Health Organization. (2002). Active Aging: a policy framework. Geneva: WHO.

Translated Thai References
Buason, R. (2014). CIPP and CIPPIEST evaluation models: Mistaken and precise concepts of
applications. Journal of Fine Arts, Research Studies, 5 (2), 7-14. (In Thai)
Bureau of Registration Administration, Department of Local Administration. (2017). Population and house statistics - Number of population separated by ages. Retrieved April 15, 2018, from http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php (In Thai)
Department of Elderly Affairs. (2016). Elderly School Handbook. Bangkok: Elderly Empowerment
Division. (In Thai)
________. (2017). The situation of Thai elderly in 2017. Retrieved April 15, 2018,
from http://www.dop.go.th/download/knowledge/th1552463947-147_0.pdf (In Thai)
Durongdej, S. (1999). Project Assessment: concepts and methods. Bangkok: n.p. (In Thai)
Kanjanawasi, S. (2002). Assessment theory. (3rd ed). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai)
Ministry of Social Development and Human Security. (2017). Handbook for life quality development center and promoting the elderly career. Retrieved April 17, 2018, from http://www.dop.go.th/download/knowledge/knowledge_th_20163105151142_1.pdf (In Thai)
Office of the Public Sector Development Commission. (2018). Official performance evaluation
guide according to the certification of practice Government service, Fiscal Year 2018.
Retrieved April 17, 2018, from http://www.bangkok.go.th/thonburi/page/sub/11859.
(In Thai)
Promjui, S. (1999). Techniques for project assessment. Nonthaburi: SukhothaiThammathirat Open University Press. (In Thai)
________. (2003). Techniques for project assessment. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open
University Press. (In Thai)
RangchaikulWibulsri, Y. (2003). Project evaluation, concepts and practices. 3rd edition, Bangkok:
Chulalongkorn University. (In Thai)
Thammasat University Research and Consultancy Institute (2004). Evaluation of public organizations and agencies in Government supervision. Bangkok. (In Thai)
Tirakanan, S. (2000). Project Assessment: Guidelines for practices. Bangkok: Faculty of Education
Ramkhamhaeng University. (In Thai)
Wongpreedee, A. & Sudhipongpracha, T. (2017). Project for Performance Evaluation of Thailand’s Regional Science Parks, Fiscal Year 2013-2016. Bangkok: Office of the Secretariat of Science Park Promotion Agency, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Science and Technology. (In Thai)


Yaemsakul, N. (2010). The Development of indicators in efficiency evaluation of Primary Care Unit under the Office of the Permanent Secretary for the Ministry of Public Health in Thailand. Doctor of Philosophy Program in Management: Graduate School, Christian University. (In Thai)
Yodpet, S. (2006). Completed research report of family caregiver project. (2nd ed.) Bangkok:
Thammasat University Press. (In Thai)
_______. (2011). Using the CIPP model in assessment of the provision of subsistence allowances for the elderly: A case study Nonthaburi Municipality. Bangkok: Thammasat University. (In Thai)
_______. (2017). Lessons learned, good examples of schools and elderly clubs with knowledge transfer activities. Office of Health Promotion Foundation. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-09-27

How to Cite

อุดานนท์ จ. (2019). การพัฒนาตัวชี้วัดการประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบในประเทศไทย. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 12(3), 372–397. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/colakkujournals/article/view/218424