พฤติกรรมของผู้สูงอายุในการใช้พื้นที่ทางเท้าและมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่ทางเท้า
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการใช้พื้นที่ทางเท้า ผู้สูงอายุ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์บทคัดย่อ
พื้นที่ทางเท้าเป็นบริการสาธารณะที่เมืองควรจัดให้กับประชาชน เพื่อสนับสนุนการเป็นเมืองที่น่าอยู่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และผู้สูงวัย ซึ่งจะช่วยสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุในการออกไปทำกิจกรรมต่าง ๆ ในเมือง การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้สูงอายุในการใช้พื้นที่ทางเท้าและปัญหาที่พบ รวมทั้งประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของพื้นที่ทางเท้าโดยใช้วิธีสมมติเหตุการณ์ให้ประมาณค่า ซึ่งมูลค่าดังกล่าวสะท้อนถึงประโยชน์ของพื้นที่ทางเท้าที่เกิดกับผู้สูงอายุ การวิจัยได้สัมภาษณ์ตัวแทนผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร 601 คน ในเดือนมีนาคม-พฤษภาคม พ.ศ.2560 ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ใช้พื้นที่ทางเท้าริมถนนหลักร่วมกับคนในครอบครัวเป็นประจำในช่วงเช้าและเย็น ระยะทางเฉลี่ยในการเดินประมาณ 700 เมตร/วัน โดยใช้ทางเท้าเพื่อเดินไปซื้อของ ส่วนใหญ่รู้สึกว่าการใช้พื้นที่ทางเท้าไม่ปลอดภัยและไม่พึงพอใจกับสภาพพื้นที่ทางเท้าในปัจจุบัน ปัญหาที่ประสบจากการใช้พื้นที่ทางเท้าคือ การมีจักรยานยนต์วิ่งบนทางเท้า ค่าเฉลี่ยความเต็มใจจ่ายเพื่อให้มีการปรับปรุงพื้นที่ทางเท้าประมาณ 160 บาท/คน/ปี มูลค่าที่สะท้อนประโยชน์จากการใช้พื้นที่ทางเท้าของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครประมาณ 157 ล้านบาท/ปี ดังนั้น ผู้กำหนดนโยบายควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอในการปรับปรุงพื้นที่ทางเท้าให้เหมาะกับการใช้งานของผู้สูงอายุ และเข้มงวดในการแก้ไขปัญหาที่ผู้สูงอายุเผชิญในการใช้พื้นที่ทางเท้า เพื่อให้การใช้ทางเท้าเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้สูงอายุ
References
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2559). จำนวนประชากรแยกรายอายุกรุงเทพมหานครเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age_disp.php.
กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์ และธีรโชติ ภูมิภมร. (2558). ความคาดหวังของคนเดินเท้าต่อความปลอดภัยในการใช้ทางเท้าสาธารณะ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www.thaicyclingclub.org.
ชุนันทร์ วามะขัน และมนสิชา เพชรานนท์. (2560). มูลค่าทางเท้ากับนโยบายการจัดการระบบสาธารณูปโภคเพื่อการเดินของเมืองอุบลราชธานี. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 16(2), 149-167.
นรา พงษ์พานิช. (2558). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยบนทางเท้าของคนเดินเท้าในเขตเมือง: กรณีศึกษาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www.thaicyclingclub.org.
เพ็ญแข แสงแก้ว. (2540). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภวินทร์ สิริสาลี และชุมเขต แสวงเจริญ. (2557). บาทวิถี: ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของคนเดินเท้า มนุษย์ล้อ และผู้ใช้จักรยาน กรณีศึกษา การจัดระบบสัญจรในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www.thaicyclingclub.org.
รสิตา ดาศรี และมนสิชา เพชรานนท์. (2559). การประเมินศักยภาพพื้นที่ที่เอื้อต่อคนเดินเท้าในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วารสารวิชาการการวางแผนภาคและเมือง, 1, 177-186.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). การสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2557. บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด. กรุงเทพ.
สำนักยุทธศาสตร์และประมวลผล กรุงเทพมหานคร. (2557). แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575). สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www.bangkok.go.th.
โสมสกาว เพชรานนท์ และวลัยภรณ์ อัตตะนันทน์. (2556). มูลค่าความเสียหายทางทัศนียภาพของเมืองจากจากป้ายโฆษณา. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 34(1), 30-42.
________. (2558). ความเต็มใจจ่ายเพื่อคุณลักษณะในการบริหารจัดการช่องทางจักรยาน. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 36(2), 201-216.
________. (2560). มิติทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ทางเท้า: กรณีศึกษาพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 16(2), 133-147.
หรรษา ศรีเลิศชัยพานิช. (2557). บทบาทและการใช้งานพื้นที่สาธารณะในบริบททางสังคม กรณีศึกษาทางเท้าในอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559, จาก http://www. thaicyclingclub.org.
Bateman, I. J., Carson, R. T., Day, B., Hanemann, M., Hanley, N., Hett, T., Jones-Lee, M., Loomes, G., Mourato, S., Özdemiroglu, E., Pearce, D. W., Sugden, R., & Swanson, J. (2002). Economic valuation with stated preference techniques: A manual. UK: Edward Elgar.
Cameron, T.A. (1988). A new paradigm for valuing non-market goods using referendum data: maximum likelihood estimation by censored logistic regression. Journal of Environmental and Management, 15, 353-379.
Hanemann, M. (1984). Welfare evaluations in contingent valuation experiments with discrete responses data: Reply. American Journal of Agricultural Economics, 71,1057-1061.
Hanemann, M., Loomis, J., & Kanninen, B. (1991). Statistical efficiency of double-bounded dichotomous choice contingent valuation. American Journal of Agricultural Economics, 73, 1225-1263. Retrieved September, 2016, from: http://www.jstor.org/stable/ 1242453.
Johansson, P. (1993). Cost-benefit analysis of environmental change. Cambridge University Press, London.
Laird, J., Page, M., and Shen, S. (2011). Valuing rural cycleways and footpaths. Paper presented at European Transport Conference, 10-12 October 2011. Retrieved October, 2015, from http://abstracts. aetransport.org/paper/ download/id/3824/confid/17.
Litman, T.A. (2003). Economic value of walkability. Transportation Research Record: Journal of the Transportation Research Board, 1828, 3-11.
Mitchell, R. C., & Carson, R.T. (1990). Using surveys to value public goods: The contingent valuation method. Report to The National Park Division, Royal Forestry Department. Bangkok, Thailand.
Nomura, H., Yabe, M., & Sampa, M.B. (2015). Latent preferences and valuation of health walk on footpath in UK. In Paper presented at The Fifth Congress of the East Asian Association of Environmental and Resource Economics 2015. Taipei, Taiwan.
Sener, I. N., Eluru, V., Bhat, C. R. (2009). An analysis of bicycle route choice preferences in Texas. Transportation, 39(6), 1121-1132.
Whitehead, J. C., Hoben, T. J., Houtven, G. V. (1998). Willingness to pay and drinking water quality: An examination of the averting behavior approach. Retrieved September, 2016, from http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.195.5486&rep=rep1&type=pdf.
Woldeamanuel, M., & Kent, A. (2015). Measuring walk access to transit in terms of sidewalk availability, quality, and connectivity. Journal of Urban Planning and Development. 142(2). Retrieved September, 2016, from http://doi.org/10.1061/ (ASCE)UP. 1943-5444.0000296.
World Health Organization. (2007). Global age-friendly cities: A guide. France.
Yabe, M., Hayashi, T., & Nishimura, B. (2013). Economic analysis of consumer behaviour and agricultural products based on biodiversity conservation value. In Phillarisetti (ed.). Multifunctional Agriculture, Ecology and Food Security. Nova Science Publisher.
Translated Thai References
Bejranonda, S. & Attanandana, V. (2013). Aesthetic damage values of urban billboards. Kasetsart Journal (Social Sciences), 34(1), 30-42. (In Thai)
Bejranonda, S. & Attanandana, V. (2015). Willingness to pay for attributes of cycleway management. Kasetsart Journal (Social Sciences),36(2), 201-216. (In Thai)
Bejranonda, S. & Attanandana, V. (2017). Economic aspects for pedestrian management: Case study of Rattanakosin Island area. Built Environment Inquiry Journal, 16(2), 133-147.
(In Thai)
Dasri, R., & Bejrananda, M. (2016). Evaluation of walkability zone in Udonthani municipality area. Journal of Urban and Regional Planning, 1(1), 177-186. (In Thai)
Department of Provincial Administration, Ministry of Interior. (2016). Number of population separated by age in Bangkok, December 2015. Retrieved September 15, 2016, from http://stat.dopa.go.th/stat/ statnew/ upstat_age_disp.php. (In Thai)
National Statistical Office, Ministry of Information and Communication Technology. (2014). The 2014 survey of the older persons in Thailand. Text and Journal Publication Co., Ltd. (In Thai)
Pongphanich, N. (2015). Study of factors influencing the safety of pedestrians on the sidewalk in urban areas: Case of Surat Thani municipality, Surat Thani province, Thailand. Retrieved September 15, 2016, from http://www.thaicyclingclub.org/wp-content/uploads/2015/08/ Bike-and-Walk-Forum-3-Safety-Today-is-Safety-Tomorrow. pdf.in. (In Thai)
Pongponrat, K. & Phoompamorn, T. (2015). Pedestrians expectation of using in public footpath safety. Retrieved September 15, 2016, from http://www.thaicyclingclub.org/wp-ontent/ uploads/ 2015/08/Bike-and-Walk-Forum-3-Safety-Today-is-Safety-Tomorrow. pdf. (In Thai)
Saengkaew, P. (1997). Social science research. Thammasart University Press, Bangkok.
Silisali, P. & Sawangjaroen, C. (2014). Pathways: Spatial relationship of pedestrians, wheelchairs and bicycle users: Case study of Thammasat University, Rangsit Campus. Retrieved September 15, 2016, from http://www.thaicyclingclub.org/wp-content/uploads/2015/08/Bike-and-Walk-Forum-3-Safety-Today-is-Safety-Tomorrow.pdf. (In Thai)
Srilertchaipanij, H. (2014). The role and use of public space in a social context: A case study of the pedestrian in the Victory monument. Retrieved September 15, 2016, from http://www. thaicyclingclub. org/wp-content/uploads/2015/08/Bike-and-Walk-Forum-3-Safety-Today-is-Safety-Tomorrow.pdf. (In Thai)
Strategy and Evaluation Department, Bangkok Metropolitan Administration. (2013). BMA’s management plan 2013-2017. Retrieved September 15, 2016, from http://203.155.220.230/m.info/hitissues/activity/ bma_10+6.pdf. (In Thai)
WamaKhan, C. & Bejrananda, M. (2017). Values of footpath and management of walking infrastructure in Ubon Ratchathani. Built Environment Inquiry Journal, 16(2), 149-167. (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกเรื่องที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งรูปเล่มและบทความออนไลน์ เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น