Globalization, human rights, and international justice

Political theory issues and views

Authors

  • Kanthima Banyaem Faculty of Humanities and Social Sciences, Thepsatri Rajabhat University
  • Suriya Hanpichai Faculty of Humanities and Social Sciences, Thepsatri Rajabhat University

Keywords:

Globalization

Abstract

โลกาภิวัตน์ คือความจริงระดับโลกที่มีสาเหตุทางประวัติศาสตร์และผลลัพธ์ร่วมสมัยเป็นรูปกระทำอย่างมีหลีกเลี่ยงมิได้หรือเป็นเพียงวาทกรรมที่ได้ถูกอุปโลกน์ขึ้นมาในโลกยุคปัจจุบัน เพื่ออำพรางจุดมุ่งหมายของเชิงอำนาจหรือเพื่อผลประโยชน์  หนังสือ “โลกาภิวัตน์ สิทธิมนุษยชน และความเป็นธรรมระหว่างประเทศ : ประเด็นและมุมมองทางทฤษฎีการเมือง” นี้เป็นการรวมข้อเขียนจากงานวิจัย 2 ชิ้นของวีระ สมบูรณ์ อันได้แก่ โลกาภิวัตน์กับความเป็นธรรมระหว่างประเทศ และสื่อกับสิทธิเสรีภาพภายใต้โลกาภิวัตน์ทางวัฒนธรรม  นอกจากจะเป็นการเผยแพร่งานวิจัยสู่สาธารณะแล้วยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์เกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ โดยเน้นที่ประเด็นและมุมมองทางทฤษฎีการเมืองเป็นสำคัญ   ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้และนำเสนอประเด็นแนวความคิดและทฤษฎีในเรื่อง โลกาภิวัตน์กับความเป็นธรรมระหว่างประเทศ โดยมุ่งเน้นในประเด็นปัญหาว่าด้วยความเป็นธรรมภายใต้สถานการณ์ของโลก อันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก โลกาภิวัตน์ ปัญหาดังกล่าวมีประเด็นคือการขยายตัวจนครอบคลุมทำให้อำนาจรัฐ ในการปกครองของรัฐ-ชาติ โดยในหนังสือได้จัดเนื้อหาออกเป็นบท รวมทั้งสิ้น 5 บท ตัววิจารณ์หนังสือได้ย่อนำเนื้อหาที่สำคัญมาอธิบายตาม ดังต่อไปนี้

References

เอกสารอ้างอิง

ภาษาไทย

วีระ สมบูรณ์. (2551). โลกาภิวัตน์ สิทธิมนุษยชน และความเป็นธรรมระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: กรีนพริ้นท์.

Translated References

Somboon, V. (2008). Globalization, human rights and fairness international. Bangkok: Green Print.

Downloads

Published

2020-03-31

How to Cite

Banyaem, K., & Hanpichai, S. (2020). Globalization, human rights, and international justice: Political theory issues and views. Local Administration Journal, 13(1), 83–89. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/colakkujournals/article/view/219006