การวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนารายได้ท้องถิ่น : กรณีค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่เก็บจากผู้เข้าพักในโรงแรม

ผู้แต่ง

  • วีระศักดิ์ เครือเทพ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ค่าธรรมเนียมโรงแรม, การวิเคราะห์ศักยภาพในการหารายได้, องค์การบริหารส่วนจังหวัด

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอเหตุผลความจำเป็นและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพในการจัดเก็บรายได้ค่าธรรมเนียมโรงแรมสำหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องสำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจด้านบริหารจัดเก็บรายได้ และใช้เป็นข้อมูลสำหรับประเมินรายได้ที่สูญเสียไป (Revenue Foregone) ในช่วงที่ผ่านมมา ผลวิเคราะห์ข้อมูลระดับมหภาคและจุลภาคพบว่ารายได้ค่าธรรมเนียมโรงแรมที่ควรจัดเก็บได้อยู่ระหว่าง 964.52 ล้านบาทถึง 11,739.82 ล้านบาทในช่วงปี 2560/2561 หรือมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6,352.17 ล้านบาท ในขณะที่ผลการจัดเก็บรายได้ในช่วงดังกล่าวเท่ากับ 533.27 ล้านบาทเพียงเท่านั้น ผลวิเคราะห์นี้สะท้อนว่าฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพและการรวบรวมฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดเก็บค่าธรรมเนียมโรงแรมให้ครบถ้วนขึ้นต่อไป    

References

วีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ. (2557). 15 ปีการกระจายอำนาจของไทย สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ. (2563). การพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. (2556). การกระจายอำนาจการคลังสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : แนวคิดและการปฏิบัติกรณีศึกษาประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2552). รายงานผลการศึกษาความก้าวหน้าของการกระจายอำนาจในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรนันท์ กลันทปุระ. (2547). เศรษฐกิจการเมืองว่าด้วยการต่อต้านภาษี : กรณีศึกษาการต่อต้านค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดจากผู้พักในโรงแรม. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ

Bland, R. L. (2005). A Revenue Guide for Local Government (2nd ed.). Washington, D.C.: International City/County Management Association.

Bonham, C. & Cangnes, B. (1996). Intervention Analysis with Cointegrated Time Series: The Case of the Hawaii Hotel Room Tax. Applied Economics, 28, 1281-1293.

Cho, I. G. (2018). Fiscal Decentralization in Korea. Asian Education and Development Studies, 7(3), 279-290.

Hofman, B. & Kaiser, K. (2002). The Making of the Big Bang and its Aftermath: A Political Economy Perspective. The Conference entitled Can Decentralization Help Rebuild Indonesia? Atlanta. Andrew Young School of Policy Studies, Georgia State University.

Translated References

Gluntapura, O. (2004). Political Economy of Tax Revolts: A Case of Hotel Tax for Provincial Administrative Organization. Doctoral Dissertation in Political Sciences, Chulalongkorn University. (in Thai)

Krueathep, W. et al. (2014). Fifteen Years Review of Thai Decentralization Research Summary and Policy Recommendations. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Krueathep, W. et al. (2020). Enhancing Capabilities of Local Revenue Administration in Thailand (Research Report). Bangkok: Thailand Science Research Institute and consultancy, Thammasat University and Innovation. (in Thai)

Research Institute and consultancy, Thammasat University. (2009). Monitoring the Progress of Thai Decentralization (Research Report). Bangkok: Research Institute and consultancy, Thammasat University. (in Thai)

Waranyuwatthana, S. (2013). Fiscal Decentralization to Local Government: Concepts and Practices in Thailand. Bangkok: Thammasat University Press. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-30

How to Cite

เครือเทพ ว., & ไชยเจริญ ศ. (2021). การวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนารายได้ท้องถิ่น : กรณีค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่เก็บจากผู้เข้าพักในโรงแรม. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 14(1), 19–36. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/colakkujournals/article/view/249581