The Relationship between Academic Achievements with Stress, Burnout and Sleep Quality of Medical Students

ผู้แต่ง

  • Itthichai Rattanatranurak Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital
  • Nutchada Paosakul Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital
  • Chaiyakit Udnan Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital

คำสำคัญ:

ภาวะเครียด, ภาวะหมดไฟ, คุณภาพการนอนหลับ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียน (เกรด) กับภาวะเครียด ภาวะหมดไฟและคุณภาพการนอนหลับของนิสิตแพทย์ เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มประชากร คือ นิสิตแพทย์ ชั้นปีที่ 4 – 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ คือ Chi-square วิเคราะห์ข้อมูลด้วยจำนวนและร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า มีนิสิตแพทย์ตอบแบบสอบถาม จำนวน 107 คน (77.53%) ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของกลุ่มเกรดน้อยกว่า 3.25 และกลุ่มเกรดมากกว่าหรือเท่ากับ 3.25 กับภาวะเครียดและภาวะหมดไฟ พบว่าทั้ง 2 กลุ่ม ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) แต่ในด้านคุณภาพการนอนหลับ พบว่าทั้ง 2 กลุ่ม มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนล่าสุด (GPA) ของกลุ่มเกรดน้อยกว่า 3.25 และกลุ่มเกรดมากกว่าหรือเท่ากับ 3.25 กับภาวะเครียด พบว่าทั้ง 2 กลุ่ม ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน (p>0.05) แต่ในภาวะหมดไฟในด้านการลดคุณค่าความเป็นคนและด้านคุณภาพการนอนหลับ พบว่าทั้ง 2 กลุ่ม มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)

References

Satayasai W, Singalavanija S, Noipayak P. Factors affect decision making in the field of residency training. Thammasat Med J. 2014; 14(4): 528-36.

Hongliam N, Wongwanna N, Noosen P. Study of learning behavior of pre-clinical medical students 2016 in Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Siriraj Med Bul. 2016; 10(3): 166-73.

Rayakeaw R, Satayasai W. 4-6th year medical students’ stress: case study at medical center, Buddhachinaraj Hospital, Phitsanulok. Thammasat Med J. 2013; 13(1): 17-23.

Yamma C, Lueboonthavatchai P. Sleep problems, fatigue and work efficiency among registered nurse at King Chulalongkorn Memorial Hospital. J Psychiatr Assoc Thailand. 2013; 58(2): 183-96.

Kongsomboon K. Academic achievement correlated to stress, depression, and sleep deprivation in medical students. Srinagarind Med J. 2010; 25(2): 109-14.

Department of Mental Health. Development of Thai computerized self-analysis stress test. Bangkok: Ministry of Public Health; 1998.

Kleebbua C. Development of the causal model of burnout at work: an application of the job demand-resource model [thesis]. Bangkok: Chulalongkorn University; 2009.

Jirapramukpitak T, Tanchaiswad W. Sleep disturbances among nurses of Songklanagarind Hospital. J Psychiatr Assoc Thailand. 1997; 42(3): 123-32.

Department of mental health. Stress relief guide. Bangkok: Design Conduction; 1998.

Apiwatanasiri C, Somaketrarin K, Suraprayoon K, Leurmprasert K, Wankaew N, Homchampa P, et al. Stress and coping in medical students at clinical level, Khon Kaen University. Srinagarind Med J. 2007; 22(4): 416-24.

Nualla-ong W. The study of stress factors in clinical medical students of the Faculty of Medicine, Thammasat University. Thammasat Med J. 2009; 13(1): 57-65.

Boni R, Paiva C, Oliveira M, Lucchetti G, Fregnani J, Paiva B. Burnout among medical students during the first years of undergraduate school: prevalence and associated factors. PLoS ONE. 2018; 113(3): e0191746.

Ishak W, Nikravesh R, Lederer S, Perry R, Ogunyemi D, Bernstein C. Burnout in medical students: a systematic review. Clin Teach. 2013; 10(4): 242-5.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-13

How to Cite

Rattanatranurak, I. ., Paosakul, N. ., & Udnan, C. (2021). The Relationship between Academic Achievements with Stress, Burnout and Sleep Quality of Medical Students. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(3), 145–155. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/gskkuhs/article/view/246933

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Articles)