การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง (ADI) ร่วมกับแผนผังมโนทัศ
คำสำคัญ:
Scientific Reasoning Ability, Critical thinking, Argument – Driven Inquiry Model with Concept Mappingบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง (ADI) ร่วมกับแผนผังมโนทัศน์ โดยให้นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบ้านค่ายวิทยา จำนวน 22 คน รูปแบบการวิจัยเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติการวิจัย 2) เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการปฏิบัติการวิจัย และ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลปฏิบัติการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์เฉลี่ยเท่ากับ 33.82 คิดเป็นร้อยละ 70.45 ของคะแนนเต็ม และมีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และนักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเฉลี่ยเท่ากับ 22.36 คิดเป็นร้อยละ 74.54 ของคะแนนเต็ม และมีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
References
Zimmerman C. The Development of Scientific Reasoning Skills [Internet]. 2005 [cited 2019 Jul 15]. Available from: http://idealibrary.com
Giere RN. Understanding Scientific Reasoning. USA: Holt, Rinehart and Winston, Inc.; 1991.
Chularat P. Learning Management for Student in the Thailand 4.0 Era. Veridian E-Journal Silpakorn University. 2018; 11(2): 2363 – 2380. Thai.
Walker JP, Sampson V, Zimmerman C. Argument-Driven Inquiry: An introduction to a New Instructional Model for Use in Undergraduate Chemistry labs. Journal of Chemical Education. 2011; 88(8): 1048-1056.
Hasnunidah N, Susilo H, Irawati MH, Sutomo H. Argument -Driven Inquiry with Scaffolding as the Development Strategies of Argumentation and Critical Thinking Skills of Students in Lampung, Indonesia. American Journal of Educational Research. 2015; 3(9): 1185-1192.
Printaragool M. The Effect of 7Es Inquiry Cycle Process with Concept Mapping on The Chemical Bond on Conceptual Thinking Ability and Learning Achievement of Grade 10 Students. [Med thesis]. Phitsanulok: Naresuan University; 2016. Thai.
Sampson V. Argument-Driven Inquiry to Promote the Understanding of Important Concept & Practices in Biology. The American Biology Teacher. 2009; 71(8): 465-472.
Novak JD, Gobin DB. Learning How to Learn. Cambridge: University Press; 1984.
Lawson AE. Basic Inferences of Scientific Reasoning, Argumentation, and Discovery. International Journal of Science Education. 2009; 94(2): 336-364.
Art-in S. A Model of Development Critical Thinking Teaching Skill for The Elementary School Science Teachers. [PhD thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2017. Thai.
Kemmis S, McTaggart R. The Action Research Planner. Victoria: Deakin University Press; 1992.
Suwannaphuth T. Enhance Grade 11 Student’s Scientific Reasoning Ability in The Topic of DNA Technology Through Argument-Driven Inquiry. [Med thesis]. Phitsanulok: Naresuan University; 2019. Thai.
Chaimongkol P. Development of Scientific Reasoning Ability in Stoichiometry Unit Using Argument-Driven Inquiry Instructional Model. Research Unit Science Technology Environment Learning J. 2017; 8(1): 27-40. Thai.
Rosidin U, Kadaritna N, Hasnunida N. Can Argument-Driven Inquiry Models have Impact on Critical Thinking Skills for Students with Differentpersonality Types?. Journal Cakrawala Pendidikan. 2019; 38(3): 511-526.
Fatmawati ZA. Effect of Argument Driven Inquiry (ADI) with Problem Solving Method for Student’s Argumentation and Critical Thinking Skills. Journal of Innovative Science Education. 2019; 8(3): 255-263.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.