Signifying Units in an Isolating Language The Case of Thai

Authors

  • Laurent Hennequin Faculty of Arts, Silpakorn University

Abstract

ความเข้าใจตามแนวแบบจารีตที่ว่า ภาษาไทยมีจุดเด่นแดกต่างจากภาษาอื่น ๆ ตรงที่ระบบของคำ โดยมีลักษณะเป็นภาษาดำโดด คำแต่ละคำมีพยางค์เดียว เนันความต่างที่เสียงวรรณยุกต์ ผู้เขียนจะแสดงให้เห็นว่า สำหรับภาษาศาสตร์สมัยใหม่แล้ว หน่วยความหมายในภาษาของภาษาคำโดดนั้นไม่มีความแตกต่างโดยพิเศษจากภาษาอื่น ๆ ความแตกต่างที่มีเป็นพิเศษจะอยู่ที่ความสัมพันธ์ภายในโครงสร้าง ซึ่งส่งผลต่อระบบโดยองค์รวม อันเป็นข้อเท็จจริงที่มักมองข้ามไป โดยอาศัยการวิเคราะห์ตัวอย่างงานภาษาไทยเปรียบเทียบกับงานภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาในตระกูลอินโดยุโรเปียน การวิเคราะห์นี้ได้แสดงให้เห็นถึงข้อด้อยของความเข้าใจในแนวแบบจารีดได้อย่างแจ่มชัด

References

ดอกไม้สด, กรรมเก่า. กรุงเทพฯ หน้า ๓๔.

Paul Auster, Leviathan. London. 1992. p. 173

Linguistics and Knowledge Science Laboratory. Virach Sornlertlamvanich, http://www.links.nectec.or.th/ virach/wordstat.html The data are dated 29 September 1995.

Downloads

Published

2021-04-20

How to Cite

Hennequin, L. (2021). Signifying Units in an Isolating Language The Case of Thai. Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University, 21(1), 119–144. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/250242