Representation and the Crisis of Post-Modernism

Authors

  • Chetta Puanghut

Keywords:

ประชาธิปไตย, การเมือง, หลักการเสรีนิยม

Abstract

สำหรับคนสมัยโบราณ พวกเขาไม่เคยรับรู้หรือมีความเข้าใจในเรื่อง 'การเป็นตัวแทน' (representation) เลย ส่วนหลักการประชาธิปไตยที่ปรากฎให้เห็นกัน
อยู่ในขณะนี้ก็เป็นแค่เพียงส่วนที่เสริมเติมเพิ่มเข้ามาลำสุดให้กับระบบการเป็นตัวแทนสมัยใหม่ และไม่สามารถไปด้วยกันได้อย่างสมบูรณ์ การแตกตัวทาง
ด้านวัฒนธรรมซึ่งในปัจจุบันได้ทำให้หลายคนเกิดความไม่พอใจนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาอย่างหลีกเสี่ยงไม่ได้ของการเสื่อมสลายของกระบวนทัศน์การเป็นตัวแทน (representational paradigm) นักรัฐศาสตร์บางคนในยุคหลังสงครามโลกเริ่มมองเห็นการต่อย ๆ ผุกร่อนมากขึ้นของการเป็นตัวแทนที่เกิดขึ้นจริง ๆ ในการกระทำทางการเมืองเมื่อพลเมืองเลือกที่จะไม่ออกเสียงลงคะแนนให้กับตัวแทน ผู้แทนบนพื้นฐานของปัญหาและผลประโยชน์ และหันมาเลือกโดยอาศัยภาพลักษณ์ที่ปรากฎผ่านสื่อตัวแทน หลักการการเป็นตัวแทนก็ได้ถูกทำลายลงไปพร้อม ๆ กัน บรรดานักคิด/นักเขียนหลายคนขณะนี้กำลังตั้งหน้าตั้งตาโจมตีทฤษฎีการเป็นตัวแทนที่นำเสนอโดยนีทเช่ (Nietzsche) ทว่ามีเพียงไม่กี่คนที่
ตระหนักดีว่าความพยายามในการหักล้างกันทางความคิดนั้นมีผลกระทบทางการสถาบันเมืองอย่างรุนแรงเกินกว่าที่จะยอมรับกันได้ในชุมชนประชาธิปไตย
ตัวแทนในระบอบประชาธิปไตยในตะวันตกปัจจุบัน
แม้ว่ายังทำงานได้เป็นอย่างดี แต่ก็ยังไม่สามารถแสดงบทบาททั้งในแง่ทฤษฎีและในแง่ปฏิบัติตามหลักการเสรีนิยมประชาธิปไตยได้อย่างเต็มที่

Downloads

Published

2021-04-20

How to Cite

Puanghut, C. (2021). Representation and the Crisis of Post-Modernism. Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University, 23(1), 250–261. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/250324