ปัจจัยด้านคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหารของนักท่องเที่ยวในชุมชนย่านเมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต
Main Article Content
บทคัดย่อ
จังหวัดภูเก็ตเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวและมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงเอกลักษณ์และวัฒนธรรม โดยสามารถสร้างประสบการณ์ทางการท่องเที่ยว งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น ความสัมพันธ์และอิทธิพลของปัจจัยคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ตและประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ของนักท่องเที่ยวชาวไทย โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจำนวน 400 ชุด ในการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ซึ่งพบว่า 1) ความคิดเห็นด้านคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมที่มีต่อประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร มีค่าอยู่ในระดับมาก 2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมและประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร มีความสัมพันธ์ในทางบวก หากคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น ประสบการณ์การท่องเที่ยวเชิงอาหารจะเพิ่มขึ้น 3) ปัจจัยคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม พบว่ามี 5 ด้านที่มีอิทธิพลต่อประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). สถิติจำนวนนักท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2564,จาก http://mots.go.th/more_new_new.php?cid=630.
กฤตวิทย์ กฤตมโนรถ และ ศุภกร ดิษฐพันธ์. (2561). การท่องเที่ยวเชิงอาหารผ่านอัตลักษณ์อาหารทั้ง 4 ภูมิภาค. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 20(2), 139-151.
ญาณภา บุญประกอบ และคณะ. (2560). อาหารพื้นถิ่นกับกลไกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง จังหวัดชัยนาท. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(พิเศษ), 93-108.
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์ และ สันติธร ภูริภักดี. (2563). โมเดลคุณค่าประสบการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 10(2), 189-207.
ณัฐพร ไข่มุกข์ และ อรอุษา สุวรรณประเทศ. (2563). จากภูมิปัญญาพื้นบ้านสู่สำรับอาหารเพื่อการท่องเที่ยว กรณีศึกษาชุมชนบ้านทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย และชุมชนบ้านวังวน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 13(1), 109-127.
นิมิต ซุ้นสั้น และ อุมาภรณ์ สมกาย. (2564) ประสบการณ์การท่องเที่ยวเชิงอาหารที่ส่งผลต่อการแบ่งปัน ประสบการณ์: การศึกษาตัวแปรส่งผ่านและตัวแปรกำกับ. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 43(3), 40-63.
นัขนลิน อินทุพัฒน์. (2563). ศักยภาพของชุมชนเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนอ่างเก็บน้ำลำพอก จังหวัดสุรินทร์, วารสารมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(2), 61-73.
พนิต มงคลธรรมรัตนะ. (2561). กฎหมายส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม: การพัฒนาและอุปสรรคของประเทศไทย. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 9(1), 69-69.
พระครูสังฆรักษ์ทรงพรรณ ชยทตโต. (2563). กระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนตลาดน้ำในจังหวัดราชบุรี. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8(2), 16-28.
พรรณี สวนเพลง และคณะ. (2559). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร. รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว, 4(2), 38-45.
ภูริ ชุณห์ขจร. (2560). ยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารสำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(ฉบับพิเศษ), 321-332.
สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย และ กรรณิกา สงวนสินธุกุล. (2563). การศึกษาเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารในพื้นที่ที่มีบริบทต่างกัน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย และ กรรณิกา สงวนสินธุกุล. (2563). การศึกษาเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารในพื้นที่ที่มีบริบทต่างกัน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 18(1), 1-18.
Azavedo, M. (2019). Why Do Tourists Attend Cooking Classes? Some Indications from Thailand. Academic Journal of Economic Studies, 5(4), 44-51.
Chaigasem, T., & Jecan, M. (2021). A Conceptual Framework of Gastronomy Tourism Development Focusing on Cultural Heritage Values in Maha Sarakham Province. Journal of Psychology and Education, 58(1), 5828-5841.
Cochran, W. G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons.
Fang, W. G., & Ariffin, A. A. M. (2021). Cultural Heritage Tourism: Determinants of Behavioral Intention to Visit a Historical City from Experiential Perspectives. Journal of Tourism, Hospitality and Environment, 6(22), 1-10.
George, D., & Mallery, P. (2003). SPSS for Windows Step by Step: A Simple Guide and Reference. (4th ed.). Boston: Allyn & Bacon.
Georghe, G. et al, (2014). Gastronomy Tourism a New Trend for Contemporary Tourism. Cactus Tourism Journal, 9(1), 12-21.
Greg, R. (2017). The Role of Gastronomy in Tourism Development. Proceeding of the 4th Congress of Noble House, 2017, 1151-1159.
Hussain, Z., Lema, J., & Agrusa, J. (2012). Enhancing the cultural tourism experience through gastronomy in the Maldives. Journal of Tourism Challenges and Trends, 5(2), 71-84.
Kim, S. et al. (2019). Extraordinary or Ordinary: Food Tourism Motivations of Japanese Domestic Noodle Tourists. Tourism Management Perspective Journal, 29, 176-186.
Kim, Y.G. et al. (2012). Construction and Validation of a Scale to Measure Tourist Motivation to Consume Local Food. Tourism Management Journal, 33(6), 1458-1467.
Lunchaprasith, T. (2018). The Relationship between Gastronomy and Community Development: A Case Study of Culinary Experiences Offered in Bang Nampheung Floating Market Prapadang Samut Prakarn, Thailand. Veridian E-Journal Silpakorn University, 11(4), 79-93.
Saurabh, A., Sangeeta D., & Lomte, D. M. (2020). Gastronomy Tourism: Exploring Local Culture Through Food in The City of Lucknow. Journal of Critical Reviews, 7(14), 1007-1015.
Solmaz, U., Akmeseb, H., Gunesc, E., & Aras, S. (2016). Gastronomy in Tourism. Procedia Economic and Finance, 39, 725-729,
Tudorache, P. (2016). The Important of Intangible Cultural Heritage in The Economy. Pecedia Economic and Finance Journal, 39, 731-736.
Walker, K., & Moscardo, G. (2014). Encouraging Sustainability Beyond the Tourist Experience: Ecotourism Interpretation and Values. Journal of Sustainable Tourism, 22(8), 1175-1196.