ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัส ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัสในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัสในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยใช้บริการแอปพลิเคชันเคพลัสและพักอาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 298 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ 2) ด้านความคาดหวังในการใช้งาน 3) ด้านอิทธิพลทางสังคม 4) ด้านสภาพแวดล้อมในการใช้เทคโนโลยี 5) ด้านความตั้งใจในการใช้งาน และ 6) ด้านพฤติกรรม การใช้งาน สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากค่า CMIN/df = 1.63, ค่า GFI = 0.94, ค่า AGFI = 0.91, ค่า SRMR = 0.04, ค่า RMSEA = 0.05 และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ = 0.76 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัส ได้ร้อยละ 76 พบว่า ด้านสภาพแวดล้อมในการใช้เทคโนโลยี และด้านความตั้งใจในการใช้งานมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัส ตามลำดับ ซึ่งผู้พัฒนาแอปพลิเคชันเคพลัสควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมในการใช้เทคโนโลยี และความตั้งใจในการใช้งานของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเคพลัสต่อไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
กรรณิการ์ คงทอง และ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ. (2563). ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีของกลุ่มเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 43-57. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/svittj/article/view/243607/166874
คริสต์มาส พวงมาลัย และ ธัญนันท์ บุญอยู่. (2566). ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้ระบบการให้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ของประชาชนในพื้นที่เขตบางแคกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์, 6(3), 1-14. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ibas/article/view/265555/178127
จักรพันธ์ ศรียุกต์นิรันดร์ และ นริศรา ภาควิธี. (2560). อิทธิพลเชิงสาเหตุของประเภทผู้บริโภคเป็นตัวแปรกำกับ และการขยายทฤษฎีรวมของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี 2 (UTAUT2): กรณีศึกษาผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย. บทความวิชาการวารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(2), 43-55. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112598/87709
ชนิภานต์ คุณานันทพงศ์ และ ศักดา ศิลปาภิสันทน์. (2564). คุณภาพการบริหารการจัดการที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การทำงานของข้าราชการสังกัดกรมกําลังพลทหารบก. วารสารสหวิทยาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(3), 940-954. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/252022/172626
ธนาคารกสิกรไทย. (2561). เส้นทางการพัฒนาและการเติบโตของ K PLUS. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2566, จาก https://www.kasikornbank.com/th/News/Documents/K%20PLUS%20new/K%20PLUS%20_Milestone_October2018.doc
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). Payment Insight: Bi-monthly Report VOL 18. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2567, จาก https://www.bot.or.th/content/dam/bot/documents/th/research-and- publications/reports/payment-report/bi-monthly-report/Bi-monthly_report_Vol182022_December.pdf
ธาดาธิเบศร์ ภูทอง และ นัทธมน มั่นสูงเนิน. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการยอมรับบริการสุขภาพผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้สูงอายุ. วารสารมนุษย์ศาสตร์สังคมศาสตร์ และ ศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(3), 548-566. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/104191/85667
พิมพ์อชิตา อัครเมธายุทธ และ สมชาย เล็กเจริญ. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลบนแอปพลิเคชันMy RTARF. วารสารศิลปการจัดการ, 6(3), 1217-1032. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/255581/172921
เบญจพร กาทอง และ สุมามาลย์ ปานคํา. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชัน S.M.A.R.T SOLDIERS ในการรับรู้ข่าวสารของข้าราชการกองทัพบก. วารสารสหวิทยาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(3), 1087-1103. สืบค้นจาก https://so04.tci- thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/257802/176024
รัฐธินี สุทธิผลไพบูลย์ และ สมชาย เล็กเจริญ. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ RTAF.LIVE ในการรับข้อมูลข่าวสารของข้าราชการกองทัพอากาศไทย. วารสารรังสิตสารสนเทศ, 27(2), 6-25. สืบค้นจาก https://rilj.rsu.ac.th/journal/56/article/265
ศุภสัณห์ เกิดสวัสดิ์ และ สุมามาลย์ ปานคํา. (2563). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของทฤษฎีรวมการยอมรับและการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อพฤติกรรมการสื่อสารภายในองค์กรผ่านโซเชียลมีเดียของข้าราชการโรงเรียนเตรียมทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์), 12(24), 103-112. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/252885/171713
สิทธิศักดิ์ จุลเชาว์ และ โกวิท รพีพิศาล. (2561). การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์พหุกลุ่มเพื่อพัฒนาตัวแบบอิทธิพลการยอมรับและใช้เทคโนโลยีสำหรับรถโดยสารประจำทางในจังหวัดขอนแก่น: ศึกษาเฉพาะกรณี KK Transit. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 2900-2919. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/145388/107421
สิริ มหาบุญญพงษ์ และ สุมามาลย์ ปานคํา. (2566). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตบนแอปพลิเคชันเอสซีบีอีซี่ของผู้บริโภคในประเทศไทย. วารสารสหวิทยาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(4), 1691-1709. สืบค้นจาก https://so04.tci- thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/264280/180472
Carolina, M., Tiago, O., & Ales, P. (2014). Understanding the internet banking adoption: A unified theory of acceptance and use of technology and perceived risk application. International Journal of Information Management, 14(34), 1-13. http://dx.doi.org/10.1016/j.ijinfomgt.2013.06.002
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Hair, J. F., Hult, G. T. M., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2014). A Primer on Partial Least Squares Structural Equation Modeling (PLS-SEM). California, CA: Sage Publications.
Hoelter, J. W. (1983). The effects of role evaluation and commitment on identity salience. Social Psychology Quarterly, 46(2), 140-147. https://doi.org/10.2307/3033850
Hu, L.T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling, 6(1), 1-55. https://doi.org/10.1080/10705519909540118
Joreskog, K. G., & Sorbom, D. (1984). Advances in factor analysis and structural equation models. Lanham: Rowman & Littlefield Publishers.
Kline, R. B. (2011). Principles and practices of structural equation modeling (3rd ed.). New York: The Guilford Press.
Li, P. (2023). Influencing factors of switching intention and intention to use personal cloud storage services among graduates in Hangzhou, China. The Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology Academic, 9(2), 233-244. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/svittj/article/view/261341/182295
Rosnidah, I., Muna, A., Musyaffi, A. M., & Siregar, N. F. (2019). Critical factor of mobile payment acceptance in Millenial generation: Study on the UTAUT model. In International Symposium on Social Sciences, Education and Humanities, 306, 123-127. https://doi.org/10.2991/isseh-18.2019.30
Schreiber, J. B., Stage, F. K., King, J., Nora, A., & Barlow, E. A. (2006). Reporting structural equation modeling and confirmatory factor analysis results: A review. The Journal of Educational Research, 99(6), 323-337. https://doi.org/10.3200/JOER.99.6.323-338
Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2004). A beginner's guide to structural equation modeling (2nd ed.). Lawrence Erlbaum Associates Publishers. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/362079746_A_beginner's_Guide_to_Structural_Equation_Modeling
Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner's guide to structural equation modeling (3rd ed.). Routledge. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/362079746_A_beginner's_Guide_to_Structural_Equation_Modeling
Somchai, W. (2021). Determinants of Enterprise Resource Planning (ERP) Systems adoption in Thai private companies. Journal of Management and Marketing, 8(2), 118-135. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/mmr/article/view/256106/173140
Thompson, B. (2004). Exploratory and confirmatory factor analysis: Understanding concepts and applications. American Psychological Association. https://doi.org/10.1037/10694-000
Ullman, M. T. (2001). The declarative/procedural model of lexicon and grammar. Journal of Psycholinguistic Research, 30(1), 37-69. https://doi.org/10.1023/A:1005204207369
Wei, R. (2023). Investigation on the use behavior of mobile video apps among gen Z students in Chongqing, China. Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology (Humanities and Social Sciences), 9(2), 285-299. Retrieved from https://so04.tci- thaijo.org/index.php/svittj/article/view/262544/182299
Zou, Z., & Cheng-Jui, T. (2022). Research on new media marketing of credit card business. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 6(2), 197-226. https://doi.org/10.14456/ijmmt.2022.16