กลวิธีความสุภาพในการปฏิเสธการขอร้องของวัยรุ่นต่อผู้สูงอายุที่มีรูปแบบความสัมพันธ์ต่างกันในสังคมไทย

Main Article Content

ศิรวัตร ไทยแท้
ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม

บทคัดย่อ

ความสุภาพเป็นค่านิยมสำคัญประการหนึ่งที่สมาชิกของสังคมไทยพึงยึดถือ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อมีปฏิสัมพันธ์ต่อผู้สูงอายุ ผู้พูดอาจเลือกใช้กลวิธีความสุภาพที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับรูปแบบความสัมพันธ์ที่ตนมีต่อผู้ฟังและความรุนแรงของการคุกคามหน้า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษากลวิธีความสุภาพในการปฏิเสธต่อการขอร้องของผู้สูงอายุ 2) วิเคราะห์อัตราความถี่ของกลวิธีความสุภาพจากสามความแตกต่างของรูปแบบความสัมพันธ์ ข้อมูลเก็บรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่าง 72 คน โดยใช้แบบสอบถามข้อตกลงกล่าวความคิดเป็นเครื่องมือในการสัมภาษณ์ สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ได้นำต้นแบบกลวิธีความสุภาพของบราวน์และเลวินสันมาใช้ในการวิเคราะห์กลวิธีความสุภาพ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ากลุ่มวัยรุ่นเลือกใช้ 6 กลวิธีหลัก ได้แก่ 1) การใช้ถ้อยคำให้เกียรติ 2) การผ่อนเจตนา 3) การชี้แจงเหตุผล 4) การเสนอแนวทางแก้ไข 5) การให้ความสำคัญกับความรู้สึกของผู้ฟัง และ 6) การหยอกล้อหรือพูดติดตลก นอกจากนี้ยังพบว่ารูปแบบความสัมพันธ์มีผลต่อการเลือกใช้กลวิธีความสุภาพ กลุ่มวัยรุ่นส่วนใหญ่เลือกใช้กลวิธีการเสนอแนวทางแก้ไขต่อสมาชิกครอบครัว ในขณะที่การใช้ถ้อยคำให้เกียรติถูกเลือกใช้ต่อเพื่อนบ้านและคนรู้จัก ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
ไทยแท้ ศ., & เลอเลิศยุติธรรม ป. . (2022). กลวิธีความสุภาพในการปฏิเสธการขอร้องของวัยรุ่นต่อผู้สูงอายุที่มีรูปแบบความสัมพันธ์ต่างกันในสังคมไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์, 40(1), 110–141. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/246690
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ศิรวัตร ไทยแท้, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

 

 

ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

References

กาญจนา นาคสกุล. (2540). คำสรรพนามในภาษาไทยสะท้อนวัฒนธรรมไทย. http://www.royin.go.th/?knowledges=คำสรรพนามในคำสรรพนามในภาษาไทยสะท้อน

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และธีรนุช โชคสุวณิช. (2551). วัจนปฏิบัติศาสตร์. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กรมสุขภาพจิต, สำนักพัฒนาสุขภาพจิต. (2550). คู่มืออาสาสมัครแกนนำเยาวชนศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น (พิมพ์ครั้งที่ 5). ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2540). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 22. รุ่งศิลป์การพิมพ์.

ทัศนีย์ เมฆถาวรวัฒนา. (2553). บทวัฒนธรรมของการขอโทษในภาษาไทย. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27(2), 28-50.

ทรงธรรม อินทจักร. (2558). การกล่าวความจริงและการโกหกจากมุมมองวัจนปฏิบัติศาสตร์ข้ามวัฒนธรรม. ภาษาและภาษาศาสตร์, 33(2), 1-24.

ทรงธรรม อินทจักร. (2559). การคาดการณ์ได้และความสัมพันธ์เชิงบทบาทในถ้อยคำให้เกียรติในภาษาไทย. วารสารศิลปศาสตร์, 16(2), 142-172.

ธนพรรษ สายหรุ่น. (2542). กลวิธีการปฏิเสธของนักศึกษาไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ: กรณีศึกษาการถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นววรรณ พันธุเมธา. (2553). ไวยากรณ์ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 5). โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรรเทิง พาพิจิตร. (2549). ประเพณี วัฒนธรรมไทย และคติความเชื่อ. โอเดียนสโตร์.

ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม. (2549). การศึกษาความสุภาพในการขอร้องและการปฏิเสธในการติดต่อธุรกิจทางจดหมายในภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546. (22 ธันวาคม 2546). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 120 ตอนที่ 130. น. 1–8.

ภาสพงศ์ ผิวพอใช้. (2549). การตอบรับคำขอโทษของผู้พูดที่มีสถานภาพทางสังคมต่างกัน. ใน กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และจันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ), พลวัตของภาษาไทยปัจจุบัน (น. 83-107). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 1). รุ่งศิลป์การพิมพ์.

วิมลพักตร์ พรหมศรีมาศ. (2543). กลวิธีการปฏิเสธในการตอบวัจนกรรมที่แสดงความปรารถนาดีในภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิรวัตร ไทยแท้. (2555). กลวิธีความสุภาพในการปฏิเสธการขอร้องของผู้โดยสาร: กรณีศึกษาพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพื้นของสายการบินไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศิรวัตร ไทยแท้. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างเพศและการเลือกใช้กลวิธีความสุภาพในวัจนกรรมการปฏิเสธต่อการขอร้องในธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ. ภาษาและภาษาศาสตร์, 36(1), 97-122.

ศิรวัตร ไทยแท้ และปนันดา เลอเลิศยุติธรรม. (2561). กลวิธีทางภาษาเพื่อการจัดการสัมพันธภาพของพนักงานสายการบินต้นทุนต่ำในการปฏิเสธการขอร้องต่อผู้โดยสาร. วารสารศิลปศาสตร์, 18(1), 119-151.

สุพัตรา สุภาพ. (2536). สังคมและวัฒนธรรมไทย: ค่านิยม ครอบครัว ศาสนา ประเพณี (พิมพ์ครั้งที่ 8). ไทยวัฒนาพานิช.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2556). คำลงท้ายในภาษาไทย. http://www.royin.go.th/?knowledges=คำลงท้ายในภาษาไทย

Abbas, F., Anjum, K., & Pasha, S. B. (2019). Speech act of apology by Pakistani English speakers through the theory of politeness. Dialogue, 14(2), 196-213.

Abuarrah, S., Lochtman, K., & Lutjerhams, M. (2013). Cross cultural pragmatics requests’ use of strategy and level of directness in Palestinian Arabic and British English. An-Najah University Journal for Research (Humanities), 27(5), 1109-1144.

Al-Zubaidi, N. A. G. (2018). Gender and reprimands in an academic circle: Evidence from an Iraqi EFL context. Al-Adab Journal, (127), 13-29.

Brown, P., & Levinson, S. C. (1978). Universals in language usage: Politeness phenomena. In E. N. Goody (Ed.), Questions and politeness: Strategies in social interaction (pp. 56-311). Cambridge University Press.

Brown, P., & Levinson, S. C. (1987). Politeness: Some universals in language usage (Vol. 4). Cambridge University Press.

Chen, H. J. (1996). Cross-cultural comparison of English and Chinese metapragmatics in refusal [Unpublished doctoral dissertation]. Indiana University.

Chojimah, N. (2015). Refusal and politeness strategies in relation to social status: A case of face-threatening act among Indonesian university students. Theory and Practice in Language Studies, 5(5), 906-918.

Davidson, J. A. (1984). Subsequent versions of invitations, offers, requests, and proposals dealing with potential or actual rejection. In J. M. Atkinson & J. Heritage (Eds.), Structures of social action: Studies in conversation analysis (pp. 102-128). Cambridge University Press.

Drew, P. (1984). Speakers’ reporting in invitation sequences. In J. M. Atkinson & J. Heritage (Eds.), Structures of social action: Studies in conversation analysis (pp. 129-151). Cambridge University Press.

Eslami, Z. R. (2010). Refusals: How to develop appropriate refusal strategies. In A. Martínez-Flor & E. Usó-Juan (Eds), Speech act performance: Theoretical, empirical and methodological issues (pp. 217-236). John Benjamins Publishing.

Félix-Brasdefer, J. C. (2006). Linguistic politeness in Mexico: Refusal strategies among male speakers of Mexican Spanish. Journal of Pragmatics, 38(12), 2158-2187.

García, C. (1996). Reprimanding and responding to a reprimand: A case study of Peruvian Spanish speakers. Journal of Pragmatics, 26(5), 663-697.

Heringer, J. T. (1972). Some grammatical correlates of felicity conditions and presuppositions [Unpublished doctoral dissertation]. Ohio State University.

Heritage, J. (1984). Garfinkel and ethnomethodology. Polity Press.

Komin, S. (1990). Psychology of the Thai people: Values and behavioral patterns. Research Center, National Institute of Development Administration.

Komin, S. (1998). The world view through Thai value systems. In A. Pongsapic (Ed.), Traditional and changing Thai world view (pp. 207-229). Chulalongkorn University Press.

Levinson, S. C. (1983). Pragmatics. CUP.

Leech, G. N. (1983). Principles of pragmatics. Longman.

Liao, C., & Bresnahan, M. I. (1996). A contrastive pragmatic study on American English and Mandarin refusal strategies. Language Sciences, 18(3-4), 703-727.

Masjedi, N., & Paramasivam, S. (2018). Complaint and politeness strategies used by Iranian speakers of English. International Journal of Applied Linguistics & English Literature, 7(4), 38-49.

Nakavetin, A., Klaysuwan, C., Nawasamrit, I., Sukhanthachan, S., & Janhom, W. (2019). Politeness strategies of airport information staff in refusing passengers’ requests. Dusit Thani College Journal, 13(1), 218-235.

Nikoobin, A., & Shahrokhi, M. (2017). Impoliteness in the realization of complaint speech acts: A comparative ctudy of Iranian EFL learners and native English speakers. International Journal of English Linguistics, 7(2), 32-51.

Panpothong, N. (2001). Thai ways of saying ‘no’ to a request. Manusya, 4(2), 63-76.

Pomerantz, A. (1984). Agreeing and disagreeing with assessments: Some features of preferred/ dispreferred turn shapes. In J. M. Atkinson & J. Heritage (Eds.), Structures of social action: Studies in conversation analysis (pp. 57-101). Cambridge University Press.

Richards, J. C., & Schmidt, R. W. (1983). Conversational analysis. In J. C. Richards & R. W. Schmidt (Eds.), Language and communication. (pp. 117-154). Longman.

Sharqawi, M. A., & Anthony, E. M. (2019). Analyzing the speech act of disagreement produced by Iraqi EFL learners: A gender study. Humanities & Social Sciences Reviews, 7(2), 118-134.

Sippapattanagorn, K., Wasuntarasobhit, S., & Patanasorn, A. T. (2014). Pragmatic transfer: Refusal strategies of Thai EFL learners. SDU Research Journal Humanities and Social Sciences, 10(2), 213-234.

Tanto, J., & Tanto, T. (2018). Request strategies in Indonesian: An analysis of politeness phenomena in text messages. Journal of Language and Literature, 18(2), 137-145.

Wolfson, N. (1988). The bulge: A theory of speech behavior and social distance. In J. Fine (Ed.), Second language discourse: A textbook of current research (pp. 21-38). Ablex.

Yan, C. (2016). A contrastive pragmatic study of politeness strategies in disagreement between native speakers of English and Chinese EFL learners. Chinese Journal of Applied Linguistics, 39(2), 231-248.

Yang, L., & Wannaruk, A. (2018). A cross-cultural pragmatic study of the speech act of complaining by native Thai and Chinese speakers. Kasetsart Journal of Social Sciences, 40(3), 670-676.

Yazdanfar, S., & Bonyadi, A. (2016). Request strategies in everyday interactions of Persian and English speakers. SAGE Open, 1-11.