ระดับความดังของหน่วยเสียงกับการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำภาษาอังกฤษของผู้พูดคนไทย

Main Article Content

กมลเนตร เอียดเกิด
วิกรม ฉันทรางกูร

บทคัดย่อ

หลักการเรียงพลังประจำเสียงเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อความยากในการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ จากความเป็นสากลของโครงสร้างพยางค์ CV นั้น ในการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำของผู้พูดที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา จึงมักมีการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะควบกล้ำให้ง่ายขึ้น งานวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหลักการการเรียงพลังประจำเสียงของพยัญชนะควบกล้ำภาษาอังกฤษกับความสามารถในการออกเสียง และลักษณะการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะควบกล้ำภาษาอังกฤษจากการออกเสียงของผู้พูดคนไทย โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน ที่มีอายุระหว่าง 30-45 ปี ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลจากการบันทึกเสียงของผู้เข้าร่วมวิจัยในการอ่านข้อความระดับประโยคจาก Bamford-Kowel-Bench (BKB) Standard Sentence Lists ประกอบด้วยคำทดสอบที่เป็นเสียงควบกล้ำ ทั้งหมด 73 คำ รวมการวิเคราะห์คำเป้าหมายทั้งหมด 1,460 ครั้ง (73 คำ x 20 คน) ผลการวิจัยพบว่า ค่าพลังประจำเสียงของหน่วยเสียงไม่ส่งผลต่อความยากในการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำภาษาอังกฤษของผู้พูดคนไทย และมีการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ได้แก่ การตัดเสียงพยัญชนะ การแทนที่เสียง และการเพิ่มเสียง ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
เอียดเกิด ก., & ฉันทรางกูร ว. (2023). ระดับความดังของหน่วยเสียงกับการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำภาษาอังกฤษของผู้พูดคนไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์, 41(2), 86–113. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/257445
บท
บทความวิจัย

References

จรัญวิไล จรูญโรจน์. (2555). ภาษาศาสตร์เบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 5). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จุไรรัตน์ สวัสดิ์, เสน่ห์ สวัสดิ์, และ วจี พวงมณี. (7-9 สิงหาคม 2560). ศึกษาปัญหาการสื่อสารภาษาอังกฤษกับอาจารย์ชาวต่างประเทศของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 หัวข้อ ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0 (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0). ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค, เมืองทองธานี, นนทบุรี.

ประพินท์ สังขา. (2564). สภาพปัญหาและการแก้ไขการออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำของเยาวชนไทย. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ, 6(1), 150-164.

ปรารมภ์รัตน์ โชติกเสถียร. (2557). การออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะใน ภาษาอังกฤษ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูรินันท์ หิรัญยูปกรณ์ และ ขนิษฐา ใจมโน. (2557). การแปรของ /r/ ในตําแหน่งพยัญชนะควบกลํ้าต้นพยางค์ในคําภาษาอังกฤษตามวัจนลีลาและประสบการณ์ทางภาษาอังกฤษของนิสิตสาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ. ใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, บัณฑิตวิทยาลัย. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15: 50 ปี มข. แห่งการอุทิศเพื่อสังคม (pp. 2350-2361). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

รัตนสุวรรณ ระวรรณ, ธีราภรณ์ รติธรรมกุล, และ ศุจิณัฐ จิตวิริยนนท์. (2561). หลักการการเรียงพลังประจำเสียงกับการรับรู้เสียงควบกล้ำพยัญชนะที่ผิด สัทสัมผัสของภาษาแม่. วารสารวจนะ, 6(2), 15-32.

อดิศักดิ์ ย่อมเยาว์. (2561). ปัญหาการใช้ทักษะภาษาอังกฤษที่จำเป็นสำหรับพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ขนาดกลางและโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ในจังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 23(2), 56-66.

Alenazi, A. R. (2016). The production of English coda clusters by Aljouf Arabic speakers. International Journal of English Linguistics, 6(2), 34-42. http://doi.org/10.5539/ijel.v6n2p34

Almalki, H. (2014). Acoustic investigation of production of clusters by Saudi second language learners of English [Master's thesis]. Florida International University.

Bassetti, B., Escudero, P., & Hayes-Harb, R. (2015). Second language phonology at the interface between acoustic and orthographic input. Applied psycholinguistics, 36(1), 1-6.

Bench, J., Kowal, Å., & Bamford, J. (1979). The Bkb (Bamford-Kowal-Bench) sentence lists for partially-hearing children. British Journal of Audiology, 13(3), 108-112. https://doi.org/10.3109/03005367909078884

Berent, I., Steriade, D., Lennertz, T., & Vaknin, V. (2007). What we know about what we have never heard: Evidence from perceptual illusions. Cognition, 104(3), 591-630.

Boersma, P., & Weenink, D. (2021). Praat: Doing phonetics by computer (Version 6.2.12) [Computer software]. www.praat.org.

Choi, J. (2016). Investigation into Korean EFL learners’ acquisition of English /s/ + consonant onset clusters. Advances in Language and Literary Studies, 7(2), 48-54.

Clement, G. (1992). The sonority cycle and syllable organization. In W. Dressler, H. Luschutzky, O. Pfeiffer, & J. Rennison (Eds.), Phonologica 1988 (pp. 63-76). Cambridge University Press.

Eckman, F. R. (1977). Markedness and the contrastive analysis hypothesis. Language Learning, 27(2), 315-330.

Eckman, F. R., & Iverson, G. K. (1994). Pronunciation difficulties in ESL: coda consonants in English interlanguage. In M. Yavas (Ed.), First and second language phonology (pp. 251-265). Singular.

Ellis, R. (2010). The Study of Second Language Acquisition. Oxford University Press.

Fletcher, S. G. (1972). Time-by-count measurement of diadochokinetic syllable rate. Journal of Speech and Hearing Research, 15(4), 763-770.

Jenkins, J. (2009). The phonology of English as an international language. Oxford University Press.

Kreidler, C. W. (2008). The pronunciation of English: A course book. John Wiley & Sons.

Le, H. T., & Boonmoh, A. (2020). Thai students' production of English coda clusters. Human Behaviour, Development and Society, 21(2), 17-29.

Odlin, T. (1989). Language transfer: Cross-linguistic influence in language learning. Cambridge University Press.

Panichkul, S. (2018). A study of the pronunciation of English consonant clusters by Thai speakers in the airline business. In S. Saengboon, R. Rojjanaprapayon, & H. Goto (Chairs), The 8th international conference on language and communication: Reclaiming language, communication and culture for sustainable society (pp. 139-153). the National Institute of Development Administration (NIDA), Bangkok, Thailand.

Parker, S. (2008). Sound level protrusions as physical correlates of sonority. Journal of Phonetics, 36(1). 55-90.

Parker, S. (2012). The sonority controversy. Mouton de Gruyter. http://doi.org/10.1515/9783110261523

Roach, P. (2016). English phonetics and phonology: A practical course (4th ed.). Cambridge University Press.

Rungruang, A. (2017). Consonant cluster acquisition by L2 Thai speakers. English Language Teaching, 10(7), 216-231.

Shinohara, Y. (2014). Perceptual training of English /r/ and /l/ for Japanese adults, adolescents and children [Doctoral dissertation]. University College London.

Shoji, S., & Shoji, K. (2014). Vowel epenthesis and consonant deletion in Japanese loanwords from English. In J. Kingston, C. Moore-Cantwell, J. Pater, R. Staubs (Eds.), Proceedings of the 2013 Annual Meeting on Phonology (pp. 1-12). University of Massachusetts Amherst, MA, United States. https://doi.org/10.3765/amp.v1i1.16

Wadsorn, N., & Panichkul, S. (2014). ‘River’ or ‘Liver’? Exploring the Intelligibility of Thai’s (Mis)pronunciation of English ‘r’ and ‘l’. LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 7(2), 51-67.

Winskel, H., Luksaneeyanawin, S., & Yangklang, P. (2006). Language socialisation of the child through caretaker-child personal narratives: A comparison of Thai and English. RELC Journal, 37(3), 356-368.