การเขียนเชิงวิชาการ ทักษะสำคัญสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑

Main Article Content

ปรีดี ปลื้มสำราญกิจ
ปริญญา เงินพลอย

บทคัดย่อ

การเขียนเชิงวิชาการเป็นทักษะสำคัญที่ผู้เรียนต้องฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เพราะการเรียนการสอนในปัจจุบันจำเป็นต้องให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะการเขียน ทั้งการเขียนตอบในแบบฝึกหัดและแบบทดสอบลักษณะอัตนัย รวมถึงการนำเสนอผลการค้นคว้าในรูปแบบต่าง ๆ ผู้เรียนจึงควรศึกษาลักษณะการเขียนเชิงวิชาการที่ดี จริยธรรมการเขียนเชิงวิชาการ และการตรวจสอบการเขียนเชิงวิชาการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ที่จะนำไปสู่การเรียนที่ประสบความสำเร็จ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมถึงการทำงาน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กณิกนันต์ สิงห์สานิตย์. รายงานการวิจัยเรื่อง การสำรวจพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเขียนรายงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. อุตรดิตถ์: โครงการนวัตกรรมการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, ๒๕๕๓.

กรมทรัพย์สินทางปัญญา. คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม. นนทบุรี: กรมทรัพย์สินทางปัญญา, [ม.ป.ป.].

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. ข้อเสนอ กสศ. ปลดล็อกความเหลื่อมล้ำ ยกระดับทักษะเยาวชนสู่ตลาดแรงงานคุณภาพสูง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖, จาก: https://www.eef.or.th/foundation-skills-for-21st-century/?fbclid=IwAR3Mzr1_584gm80LUvrhsIPQ34xWtaVrXfrWIkDuPp_on2h_FdULvLvnFGA๒๕๖๖

-------. ทิศทางพัฒนาทักษะทุนชีวิตเพื่ออนาคตที่เข้มแข็งและยั่งยืนของประเทศ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๗,จาก: https://www.eef.or.th/wp-content/uploads/2024/02/ASAT-report_TH.pdf

จิรวัฒน์ เพชรรัตน์ และอัมพร ทองใบ. การอ่านและการเขียนทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๕๖.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย. Plagiarism สิ่งพิมพ์ วิทยานิพนธ์ การคัดลอก ผลงานวิจัย ประเด็นสำคัญที่ควรรู้. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๖, จาก: http://www.grad.chula.ac.th/download/files/Plagiarism.pdf

ชวิส ราหุล. การศึกษากิจกรรมศิลปะในระบบออนไลน์ที่ส่งเสริมจริยธรรมวิชาการของนักศึกษาศิลปะระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศึกษา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. ฉบับอัดสำเนา

ชุติมา สัจจานันท์. “ความรู้เรื่องการเขียนตำรา.” ใน แนวทางการสร้างสรรค์งานวิชาการ. นนทบุรี: ฝ่ายตำรา สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๒.

ณัชชา พันธุ์เจริญ. ชวนอาจารย์เขียนตำรา ตอน เส้นทางสู่ศาสตราจารย์ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: เกศกะรัต, ๒๕๕๘.

เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง. ทักษะการรู้สารสนเทศในศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ: กรีน ไลฟ์ พริ้นติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๖๓.

นภาลัย สุวรรณธาดา. “หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนงานวิชาการ.” ใน แนวทางสร้างสรรค์งานวิชาการ. นนทบุรี: ฝ่ายตำรา สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๒.

นฤมล กิจไพศาลรัตนา. การอ้างอิงเอกสาร. พิมพ์ครั้งที่ ๕ แก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ: โครงการผลิตตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. “บทที่ ๗ ภาษา.” ใน เทคนิคการเขียนและผลิตตำรา. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒.

ปรีดี ปลื้มสำราญกิจ. การเขียนรายงานวิชาการ. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ๒๕๕๘.

พิสณุ ฟองศรี. การเขียนรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, ๒๕๕๓.

พูลสุข เอกไทยเจริญ. การเขียนรายงานการค้นคว้า. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น, ๒๕๕๑.

ภาณุมาศ ขัดเงางาม. “ข้อคิด ข้อความเห็น การสร้างงานเขียนและการประเมินงานเขียนทางวิชาการ.” ในแนวทางสร้างสรรค์งานวิชาการ. นนทบุรี: ฝ่ายตำรา สำนักวิชาการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๒.

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์. คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. การเขียนรายงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๔.

มานิตย์ จุมปา. เขียนผลงานทางวิชาการอย่างไรไม่ละเมิดลิขสิทธิ์และไม่ลักลอกผลงาน (Plaggiarism). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๘.

รงค์ ประพันธ์พงศ์. คำ เครื่องมือช่วยการเขียน. กรุงเทพฯ: สถาพร, ๒๕๖๐.

สถิตาภรณ์ ศรีหิรัญ. เทคนิคการอ่านเชิงวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๖๐.

สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. “การโจรกรรมทางวรรณกรรม : วิธีหลีกเลี่ยง.” วารสารห้องสมุด. ๖๖, ๑ (๒๕๖๕): ๑-๒๐.

สมศักดิ์ ศรีบริสุทธิ์สกุล. พื้นฐานการจัดระบบคอลเล็กชันดิจิทัล. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๕.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ๒๕๕๘.

สิทธิ์ ธีรสรณ์. เทคนิคการเขียนบทความวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๘.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. เขียนคือคิด. สงขลา: หน่วยจัดการกลาง โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ๒๕๖๒.

Creative Commons. About. [Online]. Retrieved 8 August 2023, from: http://creativecommons.org/about

Sharpe, M.E. “Pathology Sections: The Four Chronic Diseases of Academic Corruption.” Chinese Education and Society. 40, 6 (2007): 35-36.