การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อความยั่งยืนของชุมชนในเขตประกอบการอุตสาหกรรม

Main Article Content

กฤษณะ เชี่ยวเวช

บทคัดย่อ

          การก่อตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นมานั้น ควรให้ประชาชนผู้ที่จะได้รับผลกระทบ มีส่วนร่วมเสนอความต้องการของประชาชน และการดำเนินการแก้ไขจากภาครัฐ ควรทำอย่างจริงจัง ภาคอุตสาหกรรมที่ก่อเกิดปัญหาการสร้างผลกระทบ และควรมีมาตรการและนโยบายที่ดีในการไขปัญหา การประกอบธุรกิจของภาคเอกชน ควรประกอบธุรกิจให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และให้กระทบต่อส่วนรวมน้อยที่สุดควรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการขยายตัวในภาคอุตสาหกรรม และควรหามาตรการในการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนเพื่อการอยู่ร่วมกันของภาคประชาชนกับภาคอุตสาหกรรม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมอนามัย. (2552). คู่มือหลักสูตรอบรบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) ระดับท้องถิ่น. นนทบุรี: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2549). แนวทางการประเมินผลสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
นิสาชล หังสวนัส. (2546). ชุมชนกับผลกระทบของการพัฒนาอุตสาหกรรมมาบตาพุดจังหวัดระยอง. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา
พงษ์พิพัฒน์ โสนางรอง.(2544). ผลกระทบของอุตสาหกรรมต่อความเป็นอยู่ของชาวเทศบาลตำบลมาบตาพุด. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภาควิชาสังคมศาสตร์. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรับผิดชอบต่อสังคมด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อความยั่งยืนของเขตประกอบการอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 (ก.ย. - ธ.ค.): 7-8.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.). (2555). “จะรับมืออย่างไร หากเมืองไทยเต็มไปด้วยขยะอุตสาหกรรม” ใน เอกสารประกอบการสัมมนา วันที่ 8 ตุลาคม 2554 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
อาทิตย์ คงทองเหย้า. (2553). ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากบริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหารจำกัด (มหาชน) ตำบลคลองปูน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารการจัดการ. คณะรัฐศาสตรนิติศาสตร์: มหาวิทยาลัยบูรพา.