การนำหลักภาวนาไปแก้ปัญหาจริยธรรมของเยาวชน

Main Article Content

พระศรีรัตนวิมล วีรภัทร รตนปญฺโญ

บทคัดย่อ

               การศึกษาแนวคิดการให้คำปรึกษาตามหลักภาวนานั้น นับเป็นกระบวนการสำคัญยิ่งในการนำไปใช้เกิดประโยชน์ทั้งสองฝ่าย โดยเฉพาะผู้อยู่ในฐานะนำหลักการทางพระพุทธศาสนาไปใช้ หรือให้คำปรึกษาจำเป็นอย่างยิ่ง คือต้องรู้หลักอย่างชัดเจน อันได้แก้คำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้แจ่มแจ้งเสียก่อนแล้วนำหลักที่ว่านี้ไปใบให้คำปรึกษาช่วยเหลือผู้ที่ยังไม่เข้าใจในแนวทางการดำเนินชีวิต อย่างเช่นการให้คำปรึกษาของพระพุทธเจ้าทุกครั้งพระองค์ทรงวางหลักการและเป้าหมายอย่างชัดเจนเพื่อที่จะช่วยเหลือบุคคลจะได้ค้นพบสภาพความเป็นจริงของชีวิต พร้อมทั้งเข้าใจและยอมรับที่จะพัฒนาตนเอง การนำหลักภาวนาไปแก้ปัญหาจริยธรรมของเยาวชนนั้นจะต้องมีกระบวนที่เป็นรูปธรรมสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมต่อไป บทความนี้จะนำเสนอการการนำหลักภาวนาไปแก้ปัญหาจริยธรรมของเยาวชนเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กิตติพงษ์ พลทิพย์. (2564). มโนทัศน์เรื่องการบนบานกับสุขภาพและความเจ็บป่วย. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 5(1), 156-163.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : ศยาม.

พระมหากิตติณัฏฐ์ สุกิตฺติเมธี. (2564). การวิเคราะห์แนวทางงดเว้นจากความเสื่อมในปราภวสูตร. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 84-95.

พระมหาบรรจง จนฺทคุตฺโต (แม่นทอง). (2550). คุณภาพการจัดการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนตามหลักไตรสิกขา : กรณีศึกษา ศูนย์ศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่(วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2550.

พระราชวัลภาจารย์ (ดาวเรือง อาจารคุโณ). (2563). ภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการในการปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(3), 760-771.

พุทธทาสภิกขุ. (2544). คู่มือการศึกษาพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์. (2549). พัฒนาการมนุษย์. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.

ภราดร ปรีดาศักดิ์. (2549). พจนานุกรมเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาธรรมศาสตร์.

วิศิน อินทสระ. (2548). หลักธรรมอันเป็นหัวใจพระพุทธศาสนา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์เม็ดทราย.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์. (2515). ธรรมานุกรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมพร สุทัศนีย์. (2544). การทดสอบทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2562). สถานการณ์ยาเสพติดตามที่มีการสำรวจระหว่างปี 2558 – 2560. สืบค้นเมื่อ20 เมษายน 2562, จาก http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000227/

File%20Download/18-12-60/5.pdf

สุชา จันทน์เอม. (2541). จิตวิทยาเด็ก. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุพัตรา สุภาพ. (2531). ปัญหาสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุวรรณี ฮ้อแสงชัย พระปราโมทย์ วาทโกวิโท และพระมหาวีระศักดิ์ อภินนฺทเวที. (2563). มุมมองการศึกษาเชิงปรัชญา การยอมรับการเปลี่ยนแปลงเชิงพุทธสันติวิธี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(2), 180-192

สุวรี ศิวะแพทย์. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค์การภาครัฐและเอกชน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 38-50.

อธิบดีกรมสุขภาพจิต. (2562). ปัญหายาเสพติดในเด็กและเยาวชน. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2562, จาก https://www.hfocus.org/content/2016/07/12356

Phrapalad Somchai Damnoen, et. al. (2021). An Analysis of the Economic Solutions as in the Kutadanta Sutta: A Case Study of Chim Shop Chai Project. Turkish Journal of Computer and Mathematics Education, 12(8), 2949 – 2953.