สิทธิเด็กและสตรี: ยุติความอยุติธรรม

Main Article Content

ณัฐณภรณ์ เอกนราจินดาวัฒน์
ดำเกิง อัศวสุนทรางกูร
สะพรั่ง สุขเวชชวรกิจ
ตติยาภรณ์ ประสาทกุล

บทคัดย่อ

บทความเรื่องสิทธิเด็กและสตรี : ยุติความอยุติธรรม มีประเด็นที่จะนำเสนอที่สำคัญสุด คือ ข้อเสนอแนะในการขจัดความรุนแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับเด็กและสตรีที่นำเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่ตรงประเด็น ซึ่งผู้ที่จะดำเนินการให้เป็นผลสัมฤทธิ์ได้คือภาครัฐ เพราะภาครัฐเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติและได้ร่วมให้สัตยาบัน รวมทั้งอนุสนธิสัญญาสิทธิเด็กและสตรี สิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมกัน ดังนั้นภาครัฐทุกภาคส่วนทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ที่จะเป็นเจ้าภาพในด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายที่มีบทลงโทษเด็ดขาด จัดสรรงบประมาณ การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือทุกภาคส่วน ส่งเสริมสนับสนุนส่วนราชการทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นให้มีความตระหนักและขจัดปัญหาความรุนแรงภายในครอบครัว ที่เด็กและสตรีได้รับอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐานบนความยุติธรรม ความเสมอภาค เคารพสิทธิในความเป็นมนุษย์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (ม.ป.ป). ข้อมูลพื้นฐาน. ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.egov.go.th/th/government-agency/104/

ข่าวไทยรัฐออนไลน์. (2562). สาวสุดช้ำคบแฟน 2 เดือนถูกทำร้าย 3 ครั้ง ต่อยเตะจนซิลิโคนทะลุจมูกเลือดอาบ. ค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2564, จาก https://www.thairath.co.th/news/society/1550756

ข่าวสดออนไลน์. (2564). สิทธิเด็ก-สตรีไทย บทบาทในยุค 2022. ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2565, จาก https://www.khaosod.co.th/newspaper/newspaper-inside-pages/news_6808774

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล. (2563). เปิดบ้านครอบครัวไทยยุคใหม่: ความหลากหลายที่ไร้กรอบจำกัด. ค้นเมื่อ 21มกราคม 2565, จาก https://www.the101.world/thai-families-diversity-statistic/

ยูนิเซฟ. (ม.ป.ป). การคุ้มครองเด็ก. ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2564, จาก https://www.unicef.org/thailand/th/ภารกิจของยูนิเซฟ/การคุ้มครองเด็ก

สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม. (2561). สถิติความรุนแรงในครอบครัวพุ่ง 83%. ค้นเมื่อ 6 มกราคม 2565, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/43729-สถิติความรุนแรงในครอบครัวพุ่ง%2083%20.html

อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. (2553). สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์วิญญูชน.

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. (ม.ป.ป). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. (ม.ป.ป). สิทธิเด็ก. ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2565, จาก https://www.amnesty.or.th/ our-work/childrights/

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. (ม.ป.ป). สิทธิสตรี. ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2565, จาก https://www.amnesty.or.th/ our-work/womens-rights/

Betty Friedan. (1994). The Feminine Mystique. Westport, CT: Greenwood.

Simone De Beauvoir. (1957). The Second Sex (The Subject is Woman-and the treatment is fascination. New York: Alfred A. Knopf.

Christie-Seily, J. (1984). Working with the Family in primary care: A system approach to health and illness. New York: Praeger.

John, G.K. (1988). Statistical Abstract of The United States 1998. Washington, DC: Government.