การเปรียบเทียบรูปแบบการขนส่งสินค้าการเกษตร : กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุดรธานี

Main Article Content

สุรพงศ์ อินทรภักดิ์
กิตติภัทธ์ พลทัศน์โยธิน
พรชัย แย้มบาน

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาทำเลที่ตั้งของศูนย์กระจายสินค้าการเกษตรจังหวัดอุดรธานี และ วิเคราะห์รูปแบบการขนส่งและศูนย์กระจายสินค้าของสินค้าการเกษตร ใช้รูปแบบการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็น กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดอุดรธานี จำนวน 2,717 กลุ่ม เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 20 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือศึกษารูปแบบการขนส่งและกระจายสินค้าของสินค้าการเกษตร
            ผลการวิจัยพบว่า 1) สนับสนุนการตัดสินใจที่เสนอกับกรณีศึกษาการเลือกเส้นทางการขนส่งสินค้าทางถนนจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุดรธานี สู่ศูนย์กระจายสินค้าการเกษตรจังหวัดอุดรธานี 2) รูปแบบการขนส่งศูนย์กระจายสินค้าการเกษตร Transportation with cross docking. กับ Milk runs รูปแบบการขนส่ง 2 แบบ ผลการเปรียบเทียบรูปแบบการขนส่งศูนย์กระจายสินค้าการเกษตร รูปแบบการขนส่ง Milk runs เป็นการให้บริการเชื่อมโยงภายในศูนย์กระจายสินค้าการเกษตรจังหวัดอุดรธานี อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). จำนวนผู้ติดเชื้อโควิดในประเทศรายใหม่และสะสม. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/

จักรพรรดิ์ เชื้อนิล, & บุษบา พฤกษาพันธุ์รัตน์. (2013). ตัวแบบโดยรวมในการเลือกตำแหน่งที่ตั้งการกระจายสินค้า และการลงทุนในศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่. วารสารวิชาการพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 23(3), 675-686.

จีรวุฒิ บุญอุทิศ. (2554). การวิเคราะห์และลดต้นทุน โลจิสติกส์ของผู้ให้บริการขนส่งกรณีศึกษา บริษัท ชาญณีรภัท ทรานสปอร์ต จำกัด. (งานนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี).

นคร องอาจณรงค์. (2545). ความคิดเห็นและพฤติกรรมของร้านค้าปลีกในการซื้อสินค้าจากศูนย์กระจายสินค้าใน จังหวัดฉะเชิงเทรา. (Doctoral dissertation, University of the Thai Chamber of Commerce).

พนารัตน์ เหล่าพงศ์เจริญ. (2560). การหาทำเลที่ตั้งคลังสินค้าด้วยเทคนิควิธีศูนย์กลางโน้มถ่วงและวิธีการประเมินระดับความสำคัญของปัจจัย กรณีศึกษา : ธุรกิจนำเข้าวัตถุดิบอาหาร. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

วชิระ วิจิตรพงษา. (2020). แบบจำลองการเลือกรูปแบบการขนส่งสินค้าระหว่างเมืองสำหรับในเขตพื้นที่ชายแดน : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(3 (2020)), 28-43.

สุรพงศ์ อินทรภักดิ์. (2022). การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดอุดรธานี. Journal of the Association of Researchers, 27(1), 84-97.

อภิวัฒน์ สุกใส, & สถาพร อมรสวัสดิ์วัฒนา. (2021). การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศูนย์ กระจายสินค้า. In Rangsit Graduate Research Conference: RGRC (Vol. 16, pp. 622-631).

Hotrawaisaya, C. (2018). การศึกษาเส้นทางการเดินรถตู้และสร้างเส้นทางการขนส่ง กรณีศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 5(1), 118-129.

Khampoung, N., & Suthiwartnarueput, K. (2019). รูปแบบการขนส่งทางถนนที่เหมาะสมสำหรับการกระจายพัสดุสายพลาธิการของกองทัพอากาศ. Journal of Applied Research on Science and Technology (JARST), 18(2), 17-30.

Natapat, A., & Setthachotsombut, N. (2021). Supply Chain Agility: An Adaptation Perspective on the Effect of the COVID-19 Pandemic on Tourism Entrepreneurs at Lad-Etan Island, Nakhon Pathom Province in Thailand. Journal of Logistics and Supply Chain College, 7(2), 136-153.

Nozick, L.K., & Turnquist, M.A. (2001). Inventory transportation service quality and the location of distribution centers. European Journal of Operational Research, 129(2), 362-371.

Onkhum, V., Rachjun, P., Wariwun, W., & Punyajit, S. (2021). ศักยภาพในการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษากลุ่มอาชีพการทอเสื่อกกแม่บ้านตะวันสีทองบ้านท่าเสียว ตำบลสะอาด อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation, 7(6).

Pramojanee, Y., & Raothanachonkun, P. (2021). The study of the ways to reduce transportation costs: A case study of transportation company.