ความสัมพันธ์ของเงินลงทุนและอัตราส่วนในการทำกำไรที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น และอัตราผลตอบแทนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ SET100
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ของเงินลงทุนที่ส่งผลต่อราคาหุ้นและอัตราผลตอบแทนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SET100, 2) ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนในการทำกำไรที่ส่งผลต่อราคาหุ้นและอัตราผลตอบแทนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SET100. เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (SET100) รวมทั้งสิ้น 243 ข้อมูล ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาผู้วิจัยได้เลือกหลักทรัพย์กลุ่ม SET 100 ที่ผ่านการคัดเลือกจากตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2563) เป็นกลุ่มที่มีสภาพคล่องในการซื้อขายสูงสุด 100 อันดับแรก ระหว่างปี 2563-2565 ทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสัมพันธ์ของเงินลงทุนและอัตราส่วนในการทำกำไรที่มีผลต่อราคาหุ้นและอัตราผลตอบแทนด้านต่าง ๆ พบว่า เงินลงทุนไม่มีความสัมพันธ์กับราคาหุ้น อัตราส่วนในการทำกำไรไม่มีความสัมพันธ์กับราคาหุ้นและอัตราผลตอบแทน และ 2) อัตราส่วนในการทำกำไร โดยอัตรากำไรจากการดำเนินงานและอัตรากำไรสุทธิมีความสัมพันธ์กับอัตราส่วนการจ่ายปันผล และอัตราผลตอบแทนเงินปันผล
Article Details
References
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). ภาพรวมความเป็นมาและบทบาท. ค้นเมือ 1 กันยายน 2567, จาก https://www.set.or.th/th/about/overview/journey
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2560). รายงานประจำปี. ค้นเมื่อ 1 กันยายน 2567, จาก https://www.set.or.th
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). หลักทรัพย์ที่ใช้คำนวณดัชนี. ค้นเมื่อ 1 กันยายน 2567, จาก https://www.set.or.th/th/market/index/set100/overview
ทัศวรรณ ศาลาผาย และคณะ. (2567). ผลกระทบของการกํากับดูแลกิจการผลการดําเนินงานทางการเงินและการลงทุนในเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารรัชต์ภาคย์, 18(58), 517-532.
พัชราวรรณ แสงพิทักษ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับอัตราผลตอบแทนการจ่ายเงินปันผลของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมวดธุรกิจการแพทย์ (วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
เบญจพร โมกขะเวส และมนัส หัสกุล. (2565). อัตราส่วนทางการเงินที่ส่งผลต่ออัตราเงินปันผลตอบแทนและอัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET 100. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6(4), 85-94.
อภิญญามาศ ชมภู. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรและความสามารถในการบริหารหนี้สินกับการจ่ายเงินปันผลของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET
(วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
อลัน จารุลงกรณ์. (2564). ความสัมพันธ์ที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจ่ายผลตอบแทนจากเงินปันผลของ หมวดธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). รายงานประจำปี 2566. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2567, จาก https://www.set.or.th/th/about/overview/report/annual-report
Brealey, R., Myers, S., and Marcus, A. (2023). Fundamentals of corporate finance (11th ed.). McGraw-Hill Education.
Brealey, R.A., Myers, S.C. and Allen, F. (2017). Principles of Corporate Finance. International Edition, 12th Edition, McGraw-Hill, New York.
Boothroyd, K., & Thompson, C. (2024). Fundamentals of risk management: Understanding, evaluating and implementing effective enterprise risk management (7th ed.). Kogan Page.
Brealey, R.A., Myers, S.C. and Allen, F. (2017). Principles of Corporate Finance. International Edition (12th Ed). McGraw-Hill, New York.
Baker, M., & Wurgler, J. (2005). A catering theory of dividends. The Journal of Finance, 60(3), 1125-1165.
Bhattacharya, S. (1979). Imperfect Information, Dividend Policy, and “The Bird in the Hand” Fallacy. The Bell Journal of Economics, 10(1), 259-270.
Black, F. (1976). The Dividend Puzzle. The Journal of Portfolio Management Winter, 2(2) 5-8.
Brealey, R.A., Myers, S.C. and Allen, F. (2017). Principles of Corporate Finance. International Edition (12th Ed.). McGraw-Hill, New York.
Cyril, U. M., and Ogbonna, E. E. (2013). Evaluation of the effect of non-current assets on return on assets of cement manufacturing industry in Nigeria. Journal of Theoretical & Applied Statistics, 3(2), 22-30.
DeAngelo, H., DeAngelo, L., & Stulz, R. M. (2006). Dividend policy and the earned/contributed capital mix: a test of the life-cycle theory. Journal of Financial Economics, 81(2), 227-254.
Graham, B., Dodd, D. L., & Zweig, J. (2021). Security analysis: Seventh edition: Principles and techniques (7th ed.). McGraw-Hill Education.
Graham, B., & Dodd, D. (2009). Security analysis: Sixth edition (W. Buffett, Foreword). McGraw-Hill Education.
Koller, T., Goedhart, M., & Wessels, D. (2020). Valuation: Measuring and managing the value of companies (7th ed.). Wiley.
Penman, S. H. (2013). Financial Statement Analysis and Security Valuation (5th ed.). United States: McGraw Hill.
Miller, M. H., & Modigliani, F. (1961). Dividend policy, growth, and the valuation of shares. The Journal of Business, 34(4), 411-433.
Ross, S. A., Westerfield, R., & Jordan, B. D. (2018). Fundamentals of corporate finance (11th ed.). McGraw-Hill Education.
Salehi, M., Zimon, G., Arianpoor, A., and Gholezoo, F. E. (2022). The impact of investment efficiency on firm value and moderating role of institutional ownership and board independence. Journal of Risk and Financial Management, 15(4), 170.
Singh, S. K. (2024). Impact of technology on stock market. Journal of Research in Business and Management, 12(4), 264-279.
Securities and Exchange Commission, Thailand. (2020). Annual report 2020: Resiliency in the new normal. Retrieved September 1, 2024, from https://www.sec.or.th/EN/Documents/AnnualReport/pb_ar_2020.pdf
Sitohang, F., Hutabarat, F., & Sinaga, J. T. G. (2024). Pengaruh profitabilitas, dividend payout ratio, dan nilai perusahaan terhadap harga saham pada perusahaan sektor financial pada tahun 2018 - 2021. Journal of Economic, Business and Accounting (COSTING), 7(3), 6005-6015.