วาทกรรมศีลธรรมในตำนานชาวบังบดของชาวจังหวัดกาฬสินธุ์

ดร.ณัฐกฤตา นามมนตรี

ผู้แต่ง

  • ณัฐกฤตา นามมนตรี

คำสำคัญ:

วาทกรรมศีลธรรม, ตำนานชาวบังบด, จังหวัดกาฬสินธุ์

บทคัดย่อ

วาทกรรมศีลธรรมเป็นการให้ความหมายที่ปรากฏในตำานานชาวบังบด อันเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปของชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทำาให้คนละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำาที่ผิดศีลธรรม หรือบาป ผ่านกลวิธีการเล่าเรื่องในด้านการใช้คำและการใช้สัญลักษณ์ ทำให้ตำานานชาวบังบดสามารถนำาไปประยุกต์ใช้เพื่อทำให้สังคมเกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ไม่กระทำผิดต่ออีกฝ่าย นอกจากนั้นยังส่งผลกระทบทางด้านการเมืองการปกครอง ในการทำาหน้าที่เป็นกลไกควบคุมความประพฤติ ความสัมพันธ์ของผู้คนให้อยู่ในกฎเกณฑ์หรือแนวทางที่สังคมนั้นได้วางแผนไว้ อีกทั้งเพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงหรือป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งหรือละเมิดสิทธิของอีกฝ่ายหนึ่งและเพื่อทำให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีต่อกันในสังคม

References

กฤดาวรรณ หงษ์ลดารมณ์ และจันทิมา เอียมานนท์. (2549). “ภาษาสังคม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง” ในพลวัตของภาษาไทยในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จารุวรรณ พุฑฒิบัณฑิต. (2543) การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : แสงจันทร์การพิมพ์.

จิรศุภา ปล่องทอง. (2550) การศึกษาลักษณะภาษาสื่ออารมณ์ขันในมุมขำขันของหนังสือการ์ตูนขายหัวเราะและมหาสนุก. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2533). “ผีกับพระ”. ใน เอกสารการสอนชุดแนวคิดไทย หน่วยที่ 1-6. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชมนาด ศีติสาร. (2549). ไก่ : ในวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น. วารสารอักษรศาสตร์. 35 (2) กรกฎาคม-ธันวาคม : 157-159.

ชนิดา พันธุ์โสภณ. (2555). วาทกรรมความรักในชุมชนกลอนออนไลน์. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา.

ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2554). ตำนานพระพุทธรูปล้านนา : พลังปัญญาทางความเชื่อและความสัมพันธ์กับท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ไพโรจน์ เพชรสังหาร. (2530). นิทานโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับชื่อบ้านนามเมือง และชาติพันธุ์วรรณา. ม.ป.ท.

ไพโรจน์ เพชรสังหาร. (2531). คติการปลูกเรือนผู้ไทย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วาสนา บุญสม. (2546). มาเรียนเขียนกลอนกันเถิด. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2534). ความเชื่อเรื่องแถนในไทยดำ : ศาสนาดั้งเดิมของคนไทย. เมืองโบราณ. 17(3) กรกฎาคม-กันยายน.

ศิราพร ณ ถลาง. (2545). ชนชาติไทในนิทาน : แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิราพร ณ ถลาง. (2542). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมเกียรติ ตั้งนโม. (2549). มองหาเรื่อง : วัฒนธรรมทางสายตา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สุรศักดิ์ พิมพ์เสน. (2546). “ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนผู้ไทบ้านโพนอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์” ในรวมบทความทางวิชาการไทศึกษา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-28

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ (Academic Articles)