บทบาทของคณะกรรมการพิจารณาบำรุงและส่งเสริมการศาสนาและคณะกรรมการเผยแผ่พุทธศาสนา กับงานด้านพุทธศาสนาในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487

ผู้แต่ง

  • ธนพงศ์ จิตต์สง่า ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

พุทธศาสนา, จอมพล ป. พิบูลสงคราม, กองอนุศาสนาจารย์, ศาสนาประจำชาติ

บทคัดย่อ

คณะกรรมการพิจารณาบำรุงและส่งเสริมการศาสนาและคณะกรรมการเผยแผ่พุทธศาสนาก่อตั้งในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อควบคุมกิจการศาสนาในประเทศและต้องการให้คณะสงฆ์สนับสนุนนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล หลังจากจอมพล ป. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลตั้งคณะกรรมการพิจารณาบำรุงส่งเสริมการศาสนา ซึ่งมีหน้าที่กำหนดบทบาทและคุณสมบัติของพระสงฆ์ รวมถึงแนวทางการดูแลกิจการพุทธศาสนาให้เหมาะสม ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อเกิดกรณีพิพาทอินโดจีนในปี พ.ศ. 2484 รัฐบาลจอมพล ป. ตั้งคณะกรรมการเผยแผ่พุทธศาสนาขึ้น เพื่อต่อสู้กับความเชื่ออื่นๆในประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก คณะกรรมการชุดนี้มุ่งเป้าไปที่อบรมพุทธศาสนาสำหรับนักเรียนนักศึกษาและตั้งกองอนุศาสนาจารย์เพื่ออบรมพุทธศาสนาให้กับประชาชนเพื่อยืนยันพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ

References

เอกสารภาษาไทย

กระจ่าง นันทโพธิ. 2528. มหานิกาย-ธรรมยุต ความขัดแย้งภายในของคณะสงฆ์ไทยกับการส้องเสพอำนาจ ปกครองระหว่างอาณาจักรและศาสนาจักร. นนทบุรี: สันติธรรม.

ก้องสกล กวินรวีกุล. 2545. “การสร้างร่างกายพลเมืองไทยในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คนึงนิตย์ จันทบุตร. 2528. การเคลื่อนไหวของยุวสงฆ์ไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2477-2484. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เจมส์ ซี อินแกรม. 2552. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย 1850-1970. แปลโดย ชูศรี มณีพฤกษ์ และ เฉลิมพจน์ เอี่ยมกมลา, บรรณาธิการแปลโดย สุภาภรณ์ จรัลพัฒน์ ชิเกโตมิ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ. 2535. สำนักนั้นธรรมศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

ชายชาติ มุกสง. 2556. “รัฐ โภชนาใหม่กับการเปลี่ยนแปลงวิถีการกินในสังคมไทย พ.ศ. 2482-2517” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพล ใจจริง. 2559. กบฏบวรเดช: เบื้องแรกปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕. กรุงเทพฯ: มติชน.

ณัฐพล ใจจริง. 2556. ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิบักษ์ปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475-2500. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

นริศ จรัสจรรยาวงศ์. 2564ก. ๒๔๗๕ ราษฎรพลิกแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: มติชน.

นริศ จรัสจรรยาวงศ์. 2564ข. “พระพิมลธรรม สมณศักดิ์อาถรรพ์มองการเมืองสงฆ์หลังปฏิวัติ 2475 ผ่านชีวิตสมเด็จพระพุฒาจารย์ อาจ อาสโภ (พ.ศ. 2446-2532).” ฟ้าเดียวกัน 19(2): 101-140.

ประยูร ภมรมนตรี. 2525. ชีวิต ๕ แผ่นดินของข้าพเจ้า. งานพระราชทานเพลิงศพพลโท ประยูร ภมรมนตรี ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตวรมหาวิหาร.

คณะศิษยานุศิษย์. 2488. พระประวัติสมเด็จสังฆราช ติสฺสทเว วัดสุทัศน์เทพวราราม และ ปกิรณกเทศนา. พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ สุสานหลวง วัดเทพสิรินทราวาส. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม.

พระมหาวรชัย กลึงโพธิ์. 2539. “การปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2536. 100 ปี มหามกุฏราชวิทยาลัย 2436-2536. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

วอยส์ทีวี. 2565. “รถพระทำ ใส่สบงแล้วทรงพลัง.” Facebook 8 มกราคม 2565 สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2565. https://www.facebook.com/watch/?v=605967640486916.

ศรัญญู เทพสงเคราะห์. 2561. “มองสํานึกพลเมืองยุคคณะราษฎรผ่านอนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญในอีสาน.” ศิลปวัฒนธรรม 39(8): 74-105.

สมบูรณ์ สุขสำราญ. 2527. พุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิริวัฒน์ คำวันสา และ ทองพรรษ์ ราชภักดิ์. 2525. สงฆ์ไทยใน 200 ปี. (เล่ม 2). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาบรรณาคาร.

เอกสารจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/61 “เรื่องพระศรีวิไชยไม่ปรองดองกับคณะสงฆ์ พ.ศ. 2478-2479.”

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/101 “เรื่องการพิจารณาการบำรุงและส่งเสริมศาสนกิจ พ.ศ. 2481-พ.ศ. 2485.”

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/115 “เรื่องขอความร่วมมือของคณะสงฆ์ในการสั่งสอนอบรมประชาชน พ.ศ. 2482-2494”

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/126 “เรื่องสร้างพระธรรมเทศนาสอนประชาชน ฉะบับกระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2483-2487”

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/144 ปึกที่ 1 และ 2 “เรื่องการเผยแพร่พระพุทธศาสนาทางอนุศาสนาจารย์ พ.ศ. 2485-2487”

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สร.0201.10/150 “เรื่องการปรับปรุงสาสนาทางภาคเหนือ” พ.ศ. 2486”

เอกสารภาษาอังกฤษ

Hansen, Anne Ruth. 2007. How to Behave: Buddhism and modernity in Colonial Cambodia 1860-1930. Chiang Mai: Silkworm Books.

Ishii, Yoneo. 1986. Sangha, State, and Society: Thai Buddhism in history. Honolulu: University of Hawaii Press.

Jackson, Peter A. 1989. Buddhism, Legitimation and Conflict: Political function of urban Thai Buddhism. Singapore: ISEAS.

Strate, Shane. 2001. “An Uncivil State of Affairs: Fascism and Anti-Catholicism in Thailand, 1940-1944.” Journal of Southeast Asian Studies 1(42): 59-87.

Subrahmanyan, Arjun. 2017. “Buddhism, Democracy and Power in the 1932 Thai Revolution.” Asian Studies Review 1(41): 40-57.

Tambiah, Stanley J. 1976. World Conqueror and World Renouncer. London: Cambridge University Press.

Tiyavanich, Kamala. 1997. Forest Recollection: Wandering monks in twentieth century Thailand. Chiang Mai: Silkworms Book.

Turner, Bryan S. 2011. Religion and Modern Society: Citizenship, secularization and the state. Cambridge: Cambridge University Press.

Turner, Bryan S. 2013. The Religious and The Political: A comparative sociology of religion. Cambridge: Cambridge University Press.

Vajiranana, Prince. 1916. The Buddhist Attitude Towards National Defence and Administration: A special allocution by His Holiness Prince Vajiranana. n.p.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30