การพัฒนาแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ

ผู้แต่ง

  • รุวัยดา อาบีดีน นิสิตการศึกษามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • รัฐพล ประดับเวทย์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • นฤมล ศิระวงษ์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชัน, ความจริงเสมือนสามมิติ, โบราณสถาน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้มีแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ตามวัตถุประสงค์การวิจัย  ได้แก่ ระยะที่ 1 เพื่อการพัฒนาและประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการหาคุณภาพของของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำนวนทั้งหมด 6 ท่าน  และระยะที่ 2 เพื่อศึกษาผลการใช้งานแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากความสมัครใจของผู้เข้าร่วมทดลองใช้งานแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น โดยในช่วงการทดลองผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลมาจากบุคคลทั่วไปที่มาท่องเที่ยวที่โบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้จำนวน 27 คน และผู้ที่สนใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทยผ่านทางโซเชียลมีเดียอีกจำนวน 13 คน

         ผลการวิจัยพบว่า (1) แอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ  ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่  (ก) Activity  (ข) Broadcast Receiver และ (ค) Content Provider  โดยผลการศึกษาคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา อยู่ในระดับมีคุณภาพมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.70  ส่วนการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมีคุณภาพมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75  และ (2) ผลการการศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้งานแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79

References

- Boggs, R. A. (2004). The SDLC and SIX SIGMA an essay on which is which and why?. Issues in Information Systems, (5)1. 36-42.

- ISACA. (2009). Is auditing guideline system development life cycle (SDLC). Retrieved June 1, 2018, from http://www.isaca.org/ContentManagement/ContentDisplay.cfm?ContentID=33277.

- Malithong, Kidanan. (2000). Technology Kan Suksa Lae Nawattakram. (in Thai). [Educational Technology and Innovation]. Bangkok: Aroonkarnpim.

- Seimathong, Jariya. 2016. Kan Suksa Kan Pattana Application Boriharn Judkan Hopuk Kreukai Bon Ooppakorn Kuentee. (in Thai) [The Development of an Application for Dormitory Management Network on Mobile Device]. Master of Science, Chiang Rai Rajabhat University.

- So-In, Chakchai, Janyoi, Pongsathon. (2011). Basic Android App Development. Nonthaburi: IDC Premier.

- Laohajaratsang, Thanomporn. (2018). Nawattakam Technology Sarasonted Peu Kan Suksa Nai Yook Kan Rienroo 4.0. (in Thai) [Innovative educational information technology for thailand 4.0 era]. Chiang Mai: Tong Sam Design.

- Wikein, Piyadanai. (2015). Lak Kan Aokbab Web Site. (in Thai) [Website design principles]. Retrieved June 1, 2018, from https://krupiyadanai.wordpress.com/บทเรียน-html/การออกแบบเว็ปไซต์/

- Fai Palit Nangseu Tumla Vichakarn Computer. (2008). Kan Vikor Lae Aokbab Rabob. (in Thai) [System Analysis and Design]. Bangkok: SE-Education.

- Lovichit, Promlert. (2015). Koo Meu Kian App Android Duay Android Studio. (in Thai) [Android app writing guide with Android Studio]. Bangkok: Provision.

- Chairatana, Pun-Arj. (2004). Kanchatkan Nawattakam Samrap Phuborihan. (in Thai) [Innovation Management for Executives]. Bangkok: National Innovation Agency of Ministry of Science and Technology.

- Witoowinit, Woralak. (2015). Kan Pattana Sue Kan Sorn Multimedia Sameuan Jing Reuang Prawatsat Satapattayakamsart Ayutthaya Koraneesruksa Wat Phra Ram. (in Thai) [The Development of Virtual Reality Multimedia Teching Media on Ayutthaya’s Architecture History: a Case Study of Wat Phra Ram]. Master of Science in Technical Education, Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok.

- Suwanrassamee, Wantana. (2008). Roop Baep Pipittapan Sameuan Kan Suksa. (in Thai) [Model of virtual museum for education]. Doctor of Philosophy (Curriculum and Instruction), Bangkok: Kasetsart University.

- Google Developers. (2012). Application Fundamentals. Retrieved June 1, 2018, from http://developer.android.com/guide/components/fundamentals.html.

- Softmelt. (2011). Suan Prakob Kong Application Component Nai Android Application. (in Thai) [Components of Application Component in Android Application]. Retrieved June 1, 2018, from https://www.softmelt.com/article.php?id=106

- Wittayatanarattana, Sayamon. (2011). Kwam Jing Sameuan: Kannam Pai Chai Lae Phonkrathop Dan Kan Thongthiew. (in Thai) [Virtual Reality: Application and tourism impact]. Retrieved June 1, 2018, from http://www.etatjournal.com/web/menu-read-web-etatjournal?catid=0&id=321

- National Innovation Agency. (2006). Phonlawat Nawattakam. (in Thai) [Innovation Dynamics]. Bangkok: National Innovation Agency of Ministry of Science and Technology.

- Sikkhabhandit, Saowanee. (1985). Technology Thang Kan Suksa. (in Thai) [Educational technology]. Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok.

- Techatpisit, Assadech. (2018). Kanphatthana Roop Baep Lae Nuaha Kong Website Prachasamphan Phua Kanthongthieo Choeng Sangsan Nai Khet Amphoe Sangkhaburi Changwat Kanchanaburi. (in Thai) [Development of the Format and Content of a Public Relations Website for Creative Tourism in Sangkhla Buri District, Kanchanaburi Province]. Master of Communication Arts, Nonthaburi: Thammathirat Open University.

- Siriwong, Ophat. (2012). Kan Wikhro Lae Aokbab Rabop. (in Thai) [System analysis and design]. Bangkok: SE-Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-15

How to Cite

อาบีดีน ร., ประดับเวทย์ ร., & ศิระวงษ์ น. (2019). การพัฒนาแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ. หน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 34(1), D1-D15. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/203250

ฉบับ

บท

การเรียนการสอนทางสถาปัตยกรรม | Architectural Teaching