“แย้งย้อน สู่ งูกินหาง” ไดอะแกรมพลวัตแนวคิดเชิงองก์รวมขององค์/กาลเทศะ/ปฏิบัติการ Holistic Conceptualized Diagram of Subjectivity/Locality/Practice

Main Article Content

Saran Samantarat

Abstract

บทคัดย่อ

บทความนี้เกิดขึ้นเพื่อเสนอวิธีการจัดวางแนวคิดองก์รวมของทฤษฎีสหสัมพันธ์วิชาโดยผ่านการใช้กราฟฟิกไดอะแกรม เรียกว่า ไดอะแกรมพลวัตแนวคิดองก์รวม อันจะช่วยให้เข้าใจแนวความคิดต่างๆ ผ่านตำแหน่งแห่งที่ของบริบทใน “รูป” ช่วยให้เห็นตำแหน่งเชิงสัมพัทธ์ของแนวคิดเหล่านั้นในแนวกรอบร่วมมิติโดยความหมายเชิงสัมพัทธ์ จะทำให้มีความเข้าใจมโนทัศน์นามธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น แนวคิดสำคัญที่เลือกมาจัดวางได้แก่ แนวคิดสัมพัทธ์ภาพทั่วไปทางฟิสิกส์ แนวคิดสนามทางสังคมวิทยาของบูร์ดิเยอ แนวคิดทางมานุษยวิทยาละคอนของกอฟมัน และแนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่สังคมของเลอแฟบวร์ เป็นต้น

ไดอะแกรมยังใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบทำความเข้าใจร่วมกัน ระหว่างวิชาการต่างสาขาหรือสำหรับนักวิชาการแต่ละคนที่จะวางตำแหน่งของทฤษฎีต่างๆ ของแต่ละกระบวนวิชาการร่วมกัน อันอาจมีคุณต่อการศึกษาวิจัยในวิชาการต่างๆ โดยรวม อาทิเช่น ลดการภาระที่ซ้ำซ้อนกัน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือช่วยอ่านทำความเข้าใจ “ภูมิทัศน์ทางวิชาการ” จึงเสริมสร้างความสามารถในการทำงานวิชาการ ในกระบวนทัศน์แบบองก์รวมของสังคมในท้ายสุด

Abstract

This paper represent of how to positioning several notions or main concepts of several subject which called the holistic conceptualized diagram (HCD.) the diagram becomes a heuristic tool for more understanding of those ideals by relatively positioning in configuration. For examples in diagram are Einstein’s General Relativity Theory, Bourdieu’s Field Theory, Goffman’s Dramaturgy, and Lefebvre’s Production of Space and so on.

HCD is checking instruments for those interdisciplinary subjects by allow any academic individual to put down the positioning of each studied theory and see each others. This process might be able to be an interpreted heuristic tool for Academics Landscape reading that support any holistic paradigm studies.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
ARTICLES