Hydropower Dam and Development, Whose Development and for Whom?: A Lesson Learnt from Pak Mun Dam
Main Article Content
Abstract
Pak Mun hydropower dam is one of several government’s development projects in which emerged from the claim of national security and rural development. Due to the long and continuing protests against Pak Mun Dam, the project is one of the most outstanding cases that capture the interest of the civil society in local, national and international context. The case is also considered as one of the longest social movements by grassroot people in Thailand and the world. In 1991 since the dam was built and up until now, the requests and protests of the Assembly of the Poor (affected people) against Pak Mun dam have continued for more than two decades due to the dam’s severe impact to thousands of livelihoods and the ecology of the Mun River and many local communities at large. The impact of the dam has also generated the conflicts among stakeholders in the society. By conducting ethnographic study in the field site of the issue along with empirical evidences elicited from the community, the study presents the authentic data rooted from the file site. Therefore, this article is aiming to shed light on making understanding of how did government’s development project generate social conflicts, how the problems were formed, how many social actors are interplayed, and how those conflicts can be solved as a lesson learnt and concerns for the government’s policy planners and policy makers. At most, how this case could enhance classroom discussions in terms of the significance of local voices and public participation in the process of policy planning and decision making in government’s projects of development in order to avoid future social conflicts.
บทคัดย่อ
เขื่อนพลังน้ำปากมูลถือเป็นหนึ่งโครงการพัฒนาในหลายๆโครงการที่เกิดจากนโยบายของรัฐมีจุดประสงค์เพื่อการแสวงหาความมั่นคงทางพลังงานพร้อมๆกับการพัฒนาชนบทโครงการนี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากภาคประชาชนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติหลังจากเขื่อนปากมูลสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2534ได้มีการประท้วงคัดค้านจากกลุ่มสมัชชาคนจนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งได้ดำเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันยาวนานกว่าสองทศวรรษ ปรากฏทางสังคมนี้ถือเป็นหนึ่งในการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนที่ยาวนานที่สุดในประเทศไทยและในบริบทโลกสาเหตุหลักในการประท้วงเกิดจากการได้รับความเดือดร้อนอันเป็นผลกระทบจากการสร้างเขื่อนต่อชุมชนหลายชุมชน จำนวนหลายพันคน ไม่ว่าจะเป็นด้านอาชีพ วิถีชิวิติ รวมถึงระบบนิเวศของปลา แม่น้ำและชุมชน นองจากนั้นเขื่อนปากมูลยังเป็นที่มาของปัญหาและข้อพิพาทมากมายระหว่างกลุ่มคนหลายกลุ่มการศึกษานี้ใช้วิธีวิทยาทางชาติพันธุ์วรรณา ซึ่งเป็นการศึกษาภาคสนามในพื้นที่จริง ใช้การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ร่วมรับฟังข้อเท็จจริงจากคู่ขัดแย้งหลายกลุ่ม การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายในการทำความเข้าใจสาเหตุที่มาของปัญหาและข้อพิพาทของเขื่อนปากมูล โครงสร้างของปัญหา กลุ่มทางสังคมต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องของปัญหา และนำเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาเชิงนโนบาย รวมทั้งการถอดบทเรียนเรื่องการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการการกำหนดนโยบายของรัฐและโครงการพัฒนาต่างๆ และการ