ความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
คำสำคัญ:
งานบริการ, ผู้รับบริการ, ความพึงพอใจ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, Service, Customer, Satisfaction, Local Administrationบทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและเปรียบเทียบความพึงพอใจ และข้อเสนอแนะของผู้รับบริการต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 โดยศึกษาข้อมูลจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ในรูปแบบองค์การบริหารส่วนตำบล และเทศบาล ซึ่งได้ทำการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 194 องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในเขตพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนราธิวาส จังหวัดพัทลุง จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสำรวจด้านคุณภาพการให้บริการใน 4 ประเด็นหลัก คือ ด้านขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและด้านสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ (Percentage) คะแนนเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบค่าทีเทสต์ (t-test) และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนแบบทางเดียว (One –Way Anova) พบว่า ในภาพรวมผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (
Citizens, Satisfaction with the Services of Local Administration Organizations in the Southern Provinces in the Fiscal Year 2015
This study aims to examine and compare the level of satisfaction and suggestions of citizens served by their local administration organizations in southern provinces in the fiscal year 2015. Data on citizens, satisfaction were collected from 194 sub-district administration organizations and municipalities in eight provinces: Krabi, Nakhon Si Thammarat, Narathiwat Phatthalung, Satun, Songkhla, Surat Thani, and Yala. The study examined four components of service quality—i.e., processes, channels, officers, and facilities—by means of opinion surveys. Analytical techniques included percentage, means, standard deviation, t-test, and one-way ANOVA. Findings indicate that overall citizens’ satisfaction was very high ( = 4.49). Citizens’ satisfaction with the service providing officers ranks the highest (
= 4.60), followed by satisfaction with processes (
= 4.47), channels, and facilities (
= 4.44). By comparing citizens’ satisfaction, the results show that living in different provinces and types of local administration organizations does not lead to different levels of satisfaction, at the 0.05 level of significance.
Downloads
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกเรื่องที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งรูปเล่มและบทความออนไลน์ เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น