ก่องข้าว : คุณค่าในวัฒนธรรมอีสานสู่กระบวนการ กลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม(Kongkhao: From Esan Cultural Value to its Commoditization Process)
Keywords:
Value(คุณค่า), Cultural commoditization(กระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม)Abstract
การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาถึง คุณค่าของก่องข้าวในวัฒนธรรมอีสาน และกระบวนการกลายเป็นสินค้า ทางวัฒนธรรมของก่องข้าว โดยใช้แนวคิดการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้ แนวทางการสัมภาษณ์ แนวทางการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลประกอบ ด้วย ผู้อาวุโส ผู้นำที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ สมาชิกกลุ่มจักสานก่องข้าว ชาวบ้านทั่วไป และเจ้าหน้าที่ ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า คุณค่าของก่องข้าวในวัฒนธรรมอีสาน เป็นคุณค่าด้านภูมิปัญญาท้อง ถิ่นและด้านการสานสัมพันธ์ของคนในชุมชน สำหรับกระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมของก่องข้าว ซึ่งมีกระบวนการผลิตภายใต้มาตรฐานเดียวกัน การแบ่งหน้าที่ตามความชำนาญ การกำหนดราคาและการ สร้างช่องทางการจำหน่าย การให้คุณค่าและความหมาย การสนับสนุนจากภาครัฐ และการเปลี่ยนแปลง ด้านรูปลักษณ์และหน้าที่ของก่องข้าว
This research investigated value of Kongkhao in Esan culture, and process of cultural commoditization based on the concept of cultural commoditization. Interview guideline, participatory and non-participatory observation guidelines used in data collection. Key informants consisted of aging people, formal and informal leaders, member from Kongkhao handicraft association, villager, and related officer. Research result found that Kongkhao in Esan culture had highly value in term of local intelligence and people’s relationship. The cultural commoditization of Kongkhao process, found that, the process consisted of the standardization, duty division within the group, product pricing and distribution, meaning creation, government supports, and also the change of its appearance and function.