การศึกษาสภาพการวัดและประเมินผลการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • Warinthorn Sisiadngam สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Pornpan Kaenampornpan สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Supatra Vilailuck ภาควิชาดนตรีไทย วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

การวัดผล, การประเมินผล, การปฏิบัติเครื่องดนตรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการวัดและประเมินผลการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สอนรายวิชาทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าในระดับอุดมศึกษาจำนวน 58 สถาบัน แบ่งเป็นผู้สอนเครื่องเป่าลมไม้ 58 คน และเครื่องเป่าลมทองเหลือง 58 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Means) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า 1) รายการประเมินเรื่องสภาพการวัดผลของรายวิชาการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าในระดับอุดมศึกษาโดยเฉลี่ยอาจารย์ผู้สอนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (M= 4.27,  S.D. = 0.78) 2) รายการประเมินเรื่องสภาพการประเมินผลของรายวิชาการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าในระดับอุดมศึกษาโดยเฉลี่ยอาจารย์ผู้สอนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (M= 3.99, S.D. = 0.96) และ 3) เกณฑ์ที่ใช้วัดและประเมินผลการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าในระดับอุดมศึกษา โดยเฉลี่ยอาจารย์ผู้สอนมีระดับการปฏิบัติมากที่สุด (M= 4.51, S.D. = 0.65)

References

1. Meearsa J. Assessment Guideline for Classical Saxophone
Practical Skills Course for First Year Undergraduate Music
Program in Higher Education Institutes. Master of Education
Program in Music Education. Chulalongkorn University. 2016.

2. Suvaparkrangsi K. A Study of Measurement and Evaluation
on Teaching Guitar Skills in Rajabhat Institutes. Master of Art in
Music. Mahidol University. 2003.

3. Tangthanakanon K.Measurement and assessment of practical
skills. Bangkok: Publisher of Chulalongkorn University. 2014.

4. Ciorba RC, Smith YN. Measurement of Instrument and
Vocal Undergraduate Performance Juries Using a Multidimensional
Assessment Rubric. The National Association for Music Education.
2009; 57(1), 5-15.

5. Deluca C, Bolden B. Music Performance Assessment
Exploring Three Approaches for Quality Rubric Construction.
Music Educators Journal. 2014; 101(1), 70-76.

6. Pellegrino K, Conway CM, Russell JA. Assessment in
Based Secondary Music Classes. Music Educators
Journal. 2015; 102(1), 48-55.

7. Scott SJ. Rethinking the roles of Assessment in Music
Education. The National Association for Music Education.
2012; 98(3), 31-35.

8. Brian C. Weolowdoski. Understanding and Developing
Rubrics for Music Performance Assessment. Music Educators
Journal. 2012; 98(3), 36-42.

9. Zhukov K. Challenging Approaches to Assessment
of Instrumental Learning. Assessment in Music Education:
from Policy to Practice. 2015; 16, 55-70.

10. Herwitt MP. Self-Evaluation Tendencies of Junior High
Instrumentalists. The National Association for Music Education.
2002; 50(3), 215-226.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-30

How to Cite

Sisiadngam, W. ., Kaenampornpan, P. ., & Vilailuck, S. . (2020). การศึกษาสภาพการวัดและประเมินผลการปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2), 116–127. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/gskkuhs/article/view/245326

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Articles)