การพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ สำนักงานสถิติจังหวัด

ผู้แต่ง

  • Pornweenus Khoungsimma สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Songsak Phusee-orn ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ระบบ, การประเมินผลการปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

ความมุ่งหมายของการวิจัยคือ 1) พัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ กลุ่มเป้าหมายคือ ข้าราชการและพนักงานราชการ 14 คน เลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือคือ แบบตรวจสอบคุณภาพของระบบประเมินผลการปฏิบัติงานและคู่มือการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ข้อมูลใช้  2) ศึกษาผลการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ กลุ่มเป้าหมายคือ พนักงานราชการ 30 คน เลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือคือ ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานและคู่มือการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ข้อมูลใช้ Mann-Whitney U test  และ 3) การประเมินระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ กลุ่มเป้าหมายคือ ข้าราชการและพนักงานราชการ 225 คน เลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือคือ แบบประเมินระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ข้อมูลใช้  และ S.D. ผลการศึกษาพบว่า 1) ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิตและข้อมูลย้อนกลับ 2) ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานมีความตรงตามสภาพ และ 3) ความพึงพอใจต่อระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก และคุณภาพของระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับ มาก

References

1. Office of the Civil Service Commission. Application of Competencies for Human
Resources Development. Bangkok: OCSC; 2005.

2. Diane A. Performance Appraisals: Strategies for Success. New York:
American Management Association. 2008.

3. Mathis RL, Jackson J. Human resource management (13th ed.).
Mason, OH: South-Western Cengage Learning; 2010.

4. Dessler G. Fundamentals of human resource management.
New Jersey: Pearson Higher Ed.; 2013.

5. BuoSonte. Personnel Evaluation: Using Evaluation and the Role of Evaluator.
Naresuan University Journal. 2010; 18(2), 91–96.

6. Khoungsimma Pornweenus. A Needs Assessment for the Development of a Performance
Appraisal System for Government Employees at the Provincial Statistical Office.
Educational Research and Evaluation Faculty of Education Mahasarakham University
(Unpublished manuscript). 2017.

7. Mondy RWD, Martocchio JJ. Human resource management. 12th ed.
New Jersey: Prentice Hall; 2012.

8. Mejang Samran, Pitiyanuwat Somwung. A New Approach to Performance Appraisal:
Theory and Practice. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House; 2013.

9. Meesuta Alongkorn, Sachukorn Smit. Performance Appraisal. Bangkok: Technology
Promotion Association; 2008.

10. Giangreco A, Carugati A, Pilati M, Sebastiano A. Performance appraisal systems in
the Middle East: Moving beyond Western logics. European Management Review.
2010; 7(3), 155–168.

11. National Statistical Office. Strategic Plan for Human Resource Management,
National Statistical Office, Annual Budget 2014 - 2017. s.l.: s.n.; 2015.

12. Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educational
and Psychological Measurement. 1970; 30(3), 607–610.

13. Gregory W, Foreman D. Nonparametric Statistics for Non-Statisticians.
Hoboken: John Wiley & Sons; 2009.

14. Gomez-Mejia LR, Balkin DB, Cardy RL. Managing human resources. 7th ed.
New Jersey: Prentice Hall; 2012.

15. Lussie RN, Hendon JR. Human Resource Management: Functions, Applications, and
Skill Development. Washington, D.C.: Sage; 2012.

16. Stair R. Principles of Information Systems. Boston: boyd & fraser publishing
company; 2014.

17. Schoderbek P, Schoderbek C, Kefalas A. Management System: Conceptual
Considerations. Homewood, IL: BPI/lrwin; 1990.

18. Noe RA, Hollenbeck JR, Gerhart B, Wright PM. Fundamentals of human resource
management. 4th ed. New York: McGraw-Hill/Irwin. 2012.

19. Delahaye BL. Human Resource Development: Adult Learning and Knowledge
Management. 2nd ed. New Jersey: John Wiley & Sons; 2005.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-21

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Articles)