หน้าที่ของการสลับภาษาไทยกับภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนออนไลนน์ระบบเปิด

ผู้แต่ง

  • Theewara Saengin Faculty of Business Administration and Liberal Arts RMUTL
  • Unaree Taladngoen Faculty of Business Administration and Liberal Arts RMUTL

คำสำคัญ:

หน้าที่ของการสลับภาษา, ภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ, การเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิด

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหน้าที่ของการสลับภาษาไทยกับภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนออนไลนน์ แบบเปิดของประเทศไทย (Thai MOOC) ผลการศึกษาพบว่า มีหน้าที่ของการสลับภาษา จำนวน 3 หน้าที่       ได้แก่  1) การอ้างอิงถ้อยคำ (Quotation) ด้วยคำภาษาอังกฤษที่เป็นคำศัพท์เฉพาะทางวิชาการ เพื่อสื่อความของเนื้อหาให้ตรง หรือสอดคล้องกับศาสตร์ โดยมากเป็นคำศัพท์เฉพาะที่ไม่มีการบัญญัติศัพท์ภาษาไทย             2) การย้ำความหมาย (Reiteration) โดยการพูดซ้ำคำภาษาไทยกับภาษาอังกฤษที่มีความหมายเดียวกันเพื่อเน้นย้ำความหมายและ 3) การขยายความ (Message qualification) โดยการสลับภาษาภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อขยายความให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาง่ายขึ้น ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ผู้เรียนได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสลับภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิด อันจะทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนออนไลน์ระบบเปิดมากยิ่งขึ้น

Author Biography

Theewara Saengin, Faculty of Business Administration and Liberal Arts RMUTL

 

 

 

References

Sriwachirangkoon N. The Development model of Praborommarajchanok Institute’s Massive Open Online Course (PI-MOOC). J Health Sci BCNSP. 2021; 3(1): 33-51.

Tinnawas N, Thammetar T. The Study of Massive Open Online Course Model for Thai Higher Education. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 2016; 9(3): 1463-1479.

Onchawiang D. A Study of Massive Open Online Course Model for Burapha University Project. Journal of Educational Technology and Communications Mahasarakham University. 2021; 4(10): 18-29.

Thadphoothon J. Characteristics of the Use of English by Thai Academics: A Preliminary Investigation. Suthiparithat Journal. 2009; 23(71): 107-132.

Phamunchakko P, Indrambarya K. Code-Switching of a Filipino Teacher Who Taught Thai Students at a Bilingual School. KKU Research Journal of Humanities and Social Sciences (Graduate Studies). 2021; 9(2): 146-158.

Darachai W, Prasithrathsin A. Thai–teochew code–switching functions in the speech of the chinese thai in yaowarat community. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences. 2014; 14(1): 73-83.

Pitak P, SaleeVol B. The Function Semantics of Code-switching between Central Thai and Northeastern Thai in Nu-Hin in the City Cartoon. Journal of Graduate Study in Humanities and Social Sciences. 2016; 5(2): 89-109.

Darachai W, Prasithrathsin A. Thai–teochew code–switching functions in the speech of the chinese thai in yaowarat community. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences. 2014; 14(1): 73-83.

Gumperz J. 1982. Discourse Strategies. Cambridge: Cambridge University Press.

Inta P. The Mixing of English in Thai Magazines. Ganesha Journal. 2012; 8(1): 33-42.

Prasithrathsin A. Language in Thai society diversity, change, and development. 4th ed. Bangkok: Chulalongkorn University; 2005.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-30

How to Cite

Saengin, T. ., & Taladngoen, U. . (2023). หน้าที่ของการสลับภาษาไทยกับภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนออนไลนน์ระบบเปิด. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(2), 60–70. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/gskkuhs/article/view/255476

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Articles)